กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัดปี 2567
รหัสโครงการ L3308-67-03-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัด
วันที่อนุมัติ 12 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 7,280.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวินลยา ลายเพชร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน

เด็กอ้วน 3 คน จากเด็กทั้งหมด 58 คน

5.17
2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

เด็กผอม 5 คน จากเด็กทั้งหมด 58 คน

8.62
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

เด็กกินผัก 500 กรัม จำนวน 5 คน
เด็กทั้งหมด 58 คน

8.62
4 นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผัก อาจเนื่องมาจาก ผักมีรสชาติที่ไม่อร่อย

เด็กนักเรียนที่ไม่ชอบกินผัก จำนวน 20 คน
เด็กทั้งหมด 58 คน

34.48

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเด็กในวัยก่อนเรียนและในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากเด็กได้บริโภคอาหารพืชผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆได้ ส่งผลกระทบต่อเด็กทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไข้ปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่กระตุ้นให้เด็กเยาวชน และประชาชนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัด เห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน ได้จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัด จึงจัดทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารกลางวัน ส่วนผลผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครองในชุมชน จากการสังเกตเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัด นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผักร้อยละ34.48อาจเนื่องมาจาก ผักมีรสชาติที่ไม่อร่อย และมีนักเรียนมีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 20 รวม ไปถึงนักเรียนที่ไม่รับประทานอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียน ร้อยละ 54.48 สำหรับคนที่ทานอาหารเช้าก็ทานอาหารที่ไม่ค่อยเหมาะสมต่อการนำสารอาหารไปใช้ในแต่ละวัน และอาหารกลางวันที่ไม่ค่อยจะมีผักเป็นส่วนประกอบมากเท่าที่ควร ทำให้นักเรียนไม่ค่อยชอบการรับประทานอาหารจำพวกผัก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะอ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน

5.17 1.72
2 เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

8.62 1.72
3 เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

8.62 50.00
4 เด็กชอบกินผักมากขึ้น

ร้อยละของเด็กนักเรียน ชอบกินผักมากขึ้น

34.48 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อลดภาวะอ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เด็กชอบกินผักมากขึ้น

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการในเด็กปฐมวัย 3,380.00 -
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ผู้ปกครองลงมือปฏิบัติการทำโรงเรือนปฐมวัย 3,500.00 -
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 การนำผักมาแปรรูปเป็นอาหารกลางวันให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 400.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • เด็กมีภาวะโภชนาการ น้ำหนัก ส่วนสูง เหมาะสม ตามวัย
  • จำนวนเด็กที่ชอบทานผักเพิ่มขึ้น
  • เด็กรู้วิธีการทำงานร่วมกัน
  • ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2566 11:05 น.