กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก


“ โครงการสร้างสุข สูงวัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ”

ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุข สูงวัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ที่อยู่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2512-2-4 เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างสุข สูงวัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุข สูงวัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างสุข สูงวัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2512-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผู้สูงอายุมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วคิดเป็นร้อยละ 14 ของประชากรโลก (รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย, 2563) สำหรับประเทศไทยปัจจุบันเป็นสังคมผู้สูงอายุเนื่องจากมีสัดส่วนผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 18.33 และจำนวนช่วงอายุมากที่สุดคือ 60-69 ปี คิดเป็นร้อยละ 56.5 (สำนักบริหารการทะเบียน, 2564) ในปี 2565 มีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 20 เป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ และในปี 2576 จะเป็นสังคมสูงอายุระดับสุดยอดหรือมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 28 (กรมกิจการผู้สูงอาย, 2564) สอดคล้องกับจังหวัดนราธิวาส พบว่า ประชากรผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2563 - 2565 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 11.46, 11.71, 11.95 ตามลำดับ โดยอำเภอรือเสาะมีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 6,724 คน คิดเป็นร้อยละ 10.78 ของประชากรอำเภอรือเสาะ ซึ่งจากข้อมูลการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้านผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง 6,329 คน คิดเป็นร้อยละ 94.13 โดยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม จำนวน 6,215 คิดเป็นร้อยละ 98.20 รองลงมาเป็นกลุ่มติดบ้าน จำนวน 92 คน ร้อยละ 1.45 และกลุ่มติดเตียง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 0.35 ตามลำดับ โดยผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองสุขภาพ 10 เรื่อง มีความเสี่ยงด้านสุขภาพจำนวน 2,828 คน คิดเป็นร้อยละ 42.05 ซึ่งความเสี่ยงที่พบมากที่สุดคือ การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ค่าดัชนีมวลกาย และการช่วยเหลือตัวเองลดลง ตามลำดับ (HDC, 2566) สาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายไปในทางที่เสื่อมถอยลง มีข้อจำกัดในการช่วยเหลือตัวเอง ความสามารถในการช่วยตัวเองลดลง ต้องพึ่งพาคนอื่นมากขึ้น 2) การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ ต้องพบกับความสูญเสียและการพลัดพรากของคู่ชีวิต ญาติสนิทหรือเพื่อนฝูง เกิดความเหงา ขาดที่พึ่งทางใจ ขาดคนพูดคุยปรึกษาหารือให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ขาดความผูกพันที่เคยมีต่อสังคม สูญเสียบทบาททางสังคม และ 3) การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทำให้ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ต้องปรับตัวกับบทบาทใหม่จากเป็นผู้นำครอบครัวกลายเป็นผู้พึ่งพิงอาศัย ส่งผลต่อปัญหาด้านสุขภาพง หากรุนแรงจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในระดับรุนแรงได้ ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกศาสตร์ นับเป็นการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่สำคัญ เป็นศาสตร์เพื่อการวินิจฉัย รักษาและป้องกันโรค โดยไม่ใช้ยาหรือสารเคมีใดๆ จะใช้นํ้าร้อน นํ้าเย็น การนวด ผลไม้ อาหาร สมาธิ โยคะ การพูดคุย เป็นต้น ที่นอกเหนือจากการแพทย์แผนปัจจุบัน ซึ่งผู้สูงอายุให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น และสามารถใช้ความรู้มาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ตามบริบท สำหรับพื้นที่ตำบลรือเสาะออก มีผู้สูงอายุจำนวน 835 คน จากข้อมูลการคัดกรอง 9 ด้าน พบว่า มีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองครบทั้ง 9 ด้านจำนวน 817 คน คิดเป็นร้อยละ 97.84 โดยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม รองลงมาเป็นกลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง ปัญหาด้านสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน นอกจากนี้ จากการประเมินภาวะซึมเศร้ายังพบว่า ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้าเพิ่มขึ้น จำนวน 6 คน และได้รับการส่งต่อเพื่อประเมินและรักษาต่อไป ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าใจและดูแลสุขภาพ สม่ำเสมอ จะสามารถส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ป้องกันปัญหาด้านสุขภาพได้ ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเขต อบต. รือเสาะออก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาด้านสุขภาพดังกล่าว จึงจัดโครงการ สร้างสุข สูงวัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖7 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และ อสม.เข้าใจถึงการดูแลตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล มีทักษะการดูแลตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมความรู้ และฝึกทักษะการดูแลตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก
  2. แบ่งกลุ่ม ฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุและผู้ดูแลเข้าใจถึงภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล เข้าใจถึงการดูแลตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก อสม.สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกได้ ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์
ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล มีทักษะการดูแลตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล มีทักษะการดูแลตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล มีทักษะการดูแลตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมความรู้ และฝึกทักษะการดูแลตนเองด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก (2) แบ่งกลุ่ม ฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างสุข สูงวัย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2512-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด