กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชนบูรพา ตำบลยามู ปี256ุ7 ”




หัวหน้าโครงการ
นางสมจินต์ สืบประดิษฐ์




ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชนบูรพา ตำบลยามู ปี256ุ7

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8284-02-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชนบูรพา ตำบลยามู ปี256ุ7 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชนบูรพา ตำบลยามู ปี256ุ7



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชนบูรพา ตำบลยามู ปี256ุ7 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L8284-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขี้น เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้น จำนวนผู้สูงอายุจึงเพิ่มมากขึ้น ชุมชนบูรพา มีผู้สุงอายุจำนวน 40 คนและพบว่ามีปัญหาด้านสุขภาพได้แก่ ภาวะความจำเสื่อม หลงลืม โรคความดันโลหิตสูงเบาหวานและเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม ซึ่งส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของตนเอง จึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือต้วผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการป้องกันความเสี่ยงที่พบได้บ่อยได้แก่ ภาวะซึมเศร้า ภาวะสมองเสื่อม การพลัดตกหกล้ม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
  2. เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
  3. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
  6. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง
  7. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงที่สำคัญ(ภาวะสมองเสื่อม,ภาวะหกล้มและภาวะซึมเศร้า)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมทีมงาน และ ร่วมออกแบบกิจกรรม
  2. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
  3. จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุชุมชนบูรพา
  4. ติดตาม และประเมินผล
  5. ประชุมเชิงปฏิบัติการคัดกรองสุขภาพและให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบี้องต้นได้ 2.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวและชุมชน 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี สามารถอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างเป็นสุข 4.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชนมีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเองและเพื่อนสมาชิก 5.ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้สื่อเรื่องอาหาร ใว้เพื่อประชาสัมพันธ์และสร้างการรับรู้ต่อไป

 

0 0

2. ประชุมเชิงปฏิบัติการคัดกรองสุขภาพและให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 13 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมผู้สูงอายุในชุมชบูรพา โดยให้ความรู้และเน้นในเรื่องกิจกรรมต่างๆในลักษณะผ่อนคลายโดยยึดว่า
"ผู้สูงอายุ ร่างกายขยับ จิตใจก็เบิกบาน"เมื่อเริ่มเข้าสู่วัยสูงอายุ การดูแลสุขภาพเป็นเรื่องที่สำคัญมาก
เนื่องจากก่อนหน้านี้ผู้สูงอายุเคยมีสังคม เคยเป็นผู้นำ และเคยทำอะไรต่าง ๆ ด้วยตัวเอง แต่พอมาถึงจุด
ที่ต้องเกษียณตัวเองออกมาอยู่บ้านย่อมส่งผลให้รู้สึกว่าตัวเองสูญเสียอะไรหลายอย่างไป การจัด
“กิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ” หรือ “งานอดิเรก” จึงเป็นทางเลือกเพื่อคลายความเหงา สร้างความสุข
และช่วยขจัดความเครียดให้แก่ผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดีโดยกิจกรรมต่าง ๆ นั้นต้องเป็นกิจกรรมที่ส่งผลดีต่อสุขภาพกายและใจด้วย
7 กิจกรรมสำหรับ...ผู้สูงอายุ ร่างกายขยับ จิตใจก็เบิกบาน
1. ออกกำลังกาย พิชิตโรค ชวนผู้สูงอายุไปเดินเล่นที่สวนสาธารณะ หรือที่ลานกว้าง
จะช่วยป้องกันภาวะโรคกระดูกพรุน เริ่มจากการเดินช้า ๆ สลับกับเดินเร็ว เพื่อเป็นการเพิ่ม
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพลินไปกับการมองดอกไม้ต้นไม้ หรือจะกระตุ้นด้วยกิจกรรมใหม่ๆ
2. แชร์ความรู้ แบบวิทยากรมือ 1 กิจกรรมรูปแบบนี้จะช่วยให้ผู้สูงอายุได้ตระหนักถึงคุณค่าของตัวเองมากขึ้น
ด้วยการใช้วุฒิภาวะและประสบการณ์ที่ตนมี จึงสามารถเป็นที่ปรึกษา แบ่งปันความรู้ให้กับคนรุ่นใหม่ได้ เช่น
งานฝีมือ ทำอาหาร ทำขนมสูตรโบราณ เย็บปักถักร้อย การใช้ชีวิต เป็นต้น การแบ่งปันความรู้เช่นนี้ไม่เพียง
แต่ช่วยสืบทอดวิชาชีพให้คงอยู่ แต่ยังทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจได้อีกด้วย
3.กิจกรรมการใช้เวลาว่างจากการได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ จะช่วยพัฒนาด้านจิตใจ
และยังช่วยให้กระตุ้นสมองใช้จดจำสิ่งใหม่ ๆ
4. ท่องเที่ยวช่วยสร้างความสุขความสนุกได้เป็นอย่างดี ช่วยลดความเบื่อหน่าย
และเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกับคนอื่น เช่น การท่องเที่ยวตามแหล่ง
อารยธรรมหรือธรรมชาติที่สวยงาม ดูวิถีชีวิตคนท้องถิ่น แต่เราควรดูรายละเอียดการเดินทางให้ดี
ให้มีความเหมาะสมกับผู้สูงอายุ ทำให้การท่องเที่ยวได้อย่างราบรื่น 5.ส่งต่อประเพณี สู่ลูกหลาน ทำให้จิตใจของเราสงบ จากความพร้อมหน้าพร้อมตาของครอบครัว
ร่วมกิจกรรมในวันสำคัญต่าง ๆ เช่น การทำบุญตักบาตรในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
หรือการทำกิจกรรมต่าง ๆ กับครอบครัวในวันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ ในบางครอบครัวที่ ต้องแยกย้ายกันไปทำงานที่อื่น ก็ได้กลับมาพบปะสังสรรค์กัน ช่วยสร้างรอยยิ้มและเสียง
หัวเราะให้กับผู้สูงอายุได้ 6.พัฒนาสังคม ด้วยจิตอาสา อาจเป็นการช่วยเหลือกิจกรรมทางสังคม ทำจิตอาสาเล็กน้อย
ตามสถานที่ต่าง ๆ
7. ฝึกจิตด้วยการปฏิบัติธรรม การปฏิบัติธรรม เช่น สวดมนต์เพื่อระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม
และพระสงฆ์ การถือศีล 5 หรือศีล 8 เป็นกิจกรรมที่ผู้สูงอายุมักจะปฏิบัติอยู่เป็นประจำ
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ปฏิบัติได้สำรวมกาย วาจา ใจ ฝึกกำหนดรู้ในทุก ๆ อิริยาบทและ ลมหายใจ ธรรมะจึงเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจทำให้ผู้สูงอายุเข้าใจความเป็นไปของโลก
ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น จึงเกิดความสุขสงบอย่างแท้จริง
กิจกรรมทั้งหมดเหล่านี้ล้วนเป็นกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง แต่เหนือสิ่งอื่นใดการที่ผู้สูงอายุจะมีอายุที่ยืนยาวได้นั้น ล้วนแล้วต้องพึ่งพาการดูแลและเอาใส่ใจที่ดีจากลูกหลานและคนในครอบครัว ดังนั้นลูกหลานควรสนับสนุนให้ผู้สูงอายุในครอบครัวของตัวเองได้มีกิจกรรมหรืองานอดิเรกทำในยามว่าง แต่กิจกรรมต่าง ๆ ก็ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความชอบส่วนตัว และประโยชน์ที่มีต่อผู้สูงอายุด้วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมการแส่งผลดีต่อสุขภาพกายและใจด้วย ละเป็นแบบอย่างดีต่อไป
กิจกรรมหลักภายใต้นโยาบาว่า"ผู้สูงอายุ ร่างกายขยับ จิตใจก็เบิกบาน"
1. ออกกำลังกาย พิชิตโรค ชวนผู้สูงอายุไปเดินเล่นที่สวนสาธารณะ หรือที่ลานกว้าง
จะช่วยป้องกันภาวะโรคกระดูกพรุน เริ่มจากการเดินช้า ๆ สลับกับเดินเร็ว เพื่อเป็นการเพิ่ม
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพลินไปกับการมองดอกไม้ต้นไม้ หรือจะกระตุ้นด้วยกิจกรรมใหม่ๆ
เช่น โยคะผู้สูงอายุ
2. แชร์ความรู้ แบบวิทยากรมือ 1 กิจกรรมรูปแบบนี้จะช่วยให้ผู้สูงอายุได้ตระหนักถึงคุณค่าของตัวเองมากขึ้น
ด้วยการใช้วุฒิภาวะและประสบการณ์ที่ตนมี จึงสามารถเป็นที่ปรึกษา แบ่งปันความรู้ให้กับคนรุ่นใหม่ได้ เช่น
งานฝีมือ ทำอาหาร ทำขนมสูตรโบราณ เย็บปักถักร้อย การใช้ชีวิต เป็นต้น การแบ่งปันความรู้เช่นนี้ไม่เพียง
แต่ช่วยสืบทอดวิชาชีพให้คงอยู่ แต่ยังทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจได้อีกด้วย
3.กิจกรรมการใช้เวลาว่างจากการได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ จะช่วยพัฒนาด้านจิตใจ
และยังช่วยให้กระตุ้นสมองใช้จดจำสิ่งใหม่ ๆ
4. ท่องเที่ยวช่วยสร้างความสุขความสนุกได้เป็นอย่างดี ช่วยลดความเบื่อหน่าย
และเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกับคนอื่น เช่น การท่องเที่ยวตามแหล่ง
อารยธรรมหรือธรรมชาติที่สวยงาม ดูวิถีชีวิตคนท้องถิ่น แต่เราควรดูรายละเอียดการเดินทางให้ดี
ให้มีความเหมาะสมกับผู้สูงอายุ ทำให้การท่องเที่ยวได้อย่างราบรื่น 5.ส่งต่อประเพณี สู่ลูกหลาน ทำให้จิตใจของเราสงบ จากความพร้อมหน้าพร้อมตาของครอบครัว
ร่วมกิจกรรมในวันสำคัญต่าง ๆ เช่น การทำบุญตักบาตรในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
หรือการทำกิจกรรมต่าง ๆ กับครอบครัวในวันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ ในบางครอบครัวที่ ต้องแยกย้ายกันไปทำงานที่อื่น ก็ได้กลับมาพบปะสังสรรค์กัน ช่วยสร้างรอยยิ้มและเสียง
หัวเราะให้กับผู้สูงอายุได้ 6.พัฒนาสังคม ด้วยจิตอาสา อาจเป็นการช่วยเหลือกิจกรรมทางสังคม ทำจิตอาสาเล็กน้อย
ตามสถานที่ต่าง ๆ เช่น บ้านเด็กกำพร้า บ้านพักคนชรา นอกจากจะช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกจิตใจ
เบิกบานแล้วยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้เข้าไปพบปะพูดคุยกับคนที่อายุใกล้เคียงกัน
เพื่อปรึกษาหรือแชร์ประสบการณ์ในชีวิตร่วมกับผู้อื่นด้วย
7. ฝึกจิตด้วยการปฏิบัติธรรม การปฏิบัติธรรม เช่น สวดมนต์เพื่อระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม
และพระสงฆ์ การถือศีล 5 หรือศีล 8 เป็นกิจกรรมที่ผู้สูงอายุมักจะปฏิบัติอยู่เป็นประจำ
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ปฏิบัติได้สำรวมกาย วาจา ใจ ฝึกกำหนดรู้ในทุก ๆ อิริยาบทและ ลมหายใจ ธรรมะจึงเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจทำให้ผู้สูงอายุเข้าใจความเป็นไปของโลก
ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น จึงเกิดความสุขสงบอย่างแท้จริง
กิจกรรมทั้งหมดเหล่านี้ล้วนเป็นกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง แต่เหนือสิ่งอื่นใดการที่ผู้สูงอายุจะมีอายุที่ยืนยาวได้นั้น ล้วนแล้วต้องพึ่งพาการดูแลและเอาใส่ใจที่ดีจากลูกหลานและคนในครอบครัว ดังนั้นลูกหลานควรสนับสนุนให้ผู้สูงอายุในครอบครัวของตัวเองได้มีกิจกรรมหรืองานอดิเรกทำในยามว่าง แต่กิจกรรมต่าง ๆ ก็ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ความชอบส่วนตัว และประโยชน์ที่มีต่อผู้สูงอายุด้วย

 

35 0

3. ติดตาม และประเมินผล

วันที่ 31 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานลงติดตามประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม มีความผ่อนคลาย ได้รับการดูแลจากคณะกรรมการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
21.43 15.00

 

2 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
42.86 10.00

 

3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
2.00 1.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง
2.00 2.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
1.00 1.00

 

6 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง มากกว่าร้อยละ 80
30.00 80.00

 

7 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงที่สำคัญ(ภาวะสมองเสื่อม,ภาวะหกล้มและภาวะซึมเศร้า)
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงที่สำคัญ(ภาวะสมองเสื่อม,ภาวะหกล้มและภาวะซึมเศร้า) มากกว่าร้อยละ 80
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก (2) เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (4) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว (5) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (6) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง (7) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงที่สำคัญ(ภาวะสมองเสื่อม,ภาวะหกล้มและภาวะซึมเศร้า)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงาน และ ร่วมออกแบบกิจกรรม (2) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ (3) จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุชุมชนบูรพา (4) ติดตาม และประเมินผล (5) ประชุมเชิงปฏิบัติการคัดกรองสุขภาพและให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชนบูรพา ตำบลยามู ปี256ุ7

รหัสโครงการ 67-L8284-02-07 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชนบูรพา ตำบลยามู ปี256ุ7 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8284-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมจินต์ สืบประดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด