กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวิภาวรรณ ศรีสังข์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2482-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2482-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,080.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันยุงเป็นพาหะโรค อันดับต้นๆ ที่คร่าชีวิตคนเป็นจำนวนมาก เช่นโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง ไข้สมองอักเสบ เป็นต้น โดยเฉพาะไข้เลือดออกทีี่มีผุ้ป่วยเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากในแต่ละปี และถือเป้นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องเร่งแก้ไขและควบคุมดดยเร็ว ทั้งนี้โรคไขเลือดออกโดยมียุงลายเป็นพานะ เมื่อยุงลายกัดคนที่มีเชื้อก็จะนำเชื้อก็จะนำเชื้อไข้เลือดออกไปติดคนอื่นได้ ซึ่งมีแหล่งเพาะพันธุ์ที่มากขึ้นจากน้ำขังตามที่ต่างๆจึงสังเกตได้ว่าช่วงฤดูฝนของทุกปีเป้นช่วงทีมีอัตราการระบาดของโรคสูง นอกจากยุงลายที่เป็นพานะของไข้เลือดออกแล้วยุงชนิดอื่นๆ ยังเป็นพาหะนำโรคอีกหลายชนิดมาสุ่มมนุษย์และสัตว์เลี้ยงได้ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องหาวิธีการป้องกันยุงกัด ซึงมีหลากหลายวิธี ตั้งแตวิธีการกายภาพ วิธีชีวภาพ และการใช้สารเคมี วิธีที่ประชาชนทั่วไปนิยมใช้ที่สุดคือการใช้สารเคมีในการกำจัดยุง เนื่องจากหาซื้อได้ง่าย ให้ผลรวดเร็วทันใจ แต่การใช้สารเคมีเหล่านี้ หากผู้ใช้ไม่เข้าใจวิธีการใช้ที่ถูกต้องก็อาจเป็นอันตรายแก่ผู้ใช้เอง และในการกำจัดยุงในบริเวณกว้างจะต้องใช้สารเคมีปริมาณมาก สารเคมีเหล่านี้จะตกค้างในสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นพิษทั้งต่อมนุษย์และสัตว์เลี้ยงได้ ทั้งยังทำให้เกิดปํญหาต่อระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมตามมา นอกจากนี้การใช้สารเคมีในระยะยาวยังทำให้ยุงดื้อต่อสารเคมีอีกด้วย และอาจจะมีผลทำให้เกิดอาการแพ้สารเคมีผิวหนังอักเสบ รวมทั้งทำให้เกิดการหายใจขัดข้อง หรืออาการรุนแรงมากอาจทำให้เสียชีวิตได้ ซึงในเขตตำบลโฆิษิตประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่นทำสวนยางพารา ปลูกผัก ประกอบกับพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่า ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้เลือดอกกได้ จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาง มีแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้นจากสถิติ 3 ปีย้อนหลังดังนี้ ปี พ.ศ. 2567 ผุ้ป่วย 0 ราย , ปี 2566 ผุ้ป่วย 15 ราย ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยพบว่า มีสมุนไพรหลายชนิดที่มีสรรพคุรในการไล่ยุง ซึ่งการนำสมุนไพรมาผลิตเป็นสเปรย์ใล่ยุงนอกจากจะช่วยลดการใช้สรเคมีแล้วนั้น ยังมีความปลอดภัยมากกว่าการใช้สารเคมี ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนสามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนและเพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ๗ึงได้จัดทำโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สเปรย์ไล่ยุ่ง ประจำปี 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสมุนไพรไล่ยุงและขั้นตอนการทำสเปรย์ 2.เพื่อนำผลิตภัณฑ์มาใช้ไล่ยุงกัดป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567
  2. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรไล่ยุง และขั้นตอนการทำสเปรย์
  2. สามารถนำความรู้ไปพัฒนาและใช้ในชีวิตประจำวัน
  3. ประชาชนปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสมุนไพรไล่ยุงและขั้นตอนการทำสเปรย์ 2.เพื่อนำผลิตภัณฑ์มาใช้ไล่ยุงกัดป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนทำสเปรย์สมุนไพรไล่ยุงได้เอง 2.ไม่มีผุ้ป่วย และเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออก
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสมุนไพรไล่ยุงและขั้นตอนการทำสเปรย์  2.เพื่อนำผลิตภัณฑ์มาใช้ไล่ยุงกัดป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567 (2) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรสเปรย์ไล่ยุง ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2482-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาวรรณ ศรีสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด