กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง


“ โครงการบริการทันตกรรมเชิงรุกในเด็กนักเรียนประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอภัยรัตน์ มุขตา

ชื่อโครงการ โครงการบริการทันตกรรมเชิงรุกในเด็กนักเรียนประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-1-07 เลขที่ข้อตกลง 9/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริการทันตกรรมเชิงรุกในเด็กนักเรียนประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริการทันตกรรมเชิงรุกในเด็กนักเรียนประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริการทันตกรรมเชิงรุกในเด็กนักเรียนประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3323-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,806.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน ถือว่าเป็นงานที่สำคัญประการหนึ่งของอนามัยโรงเรียนที่ต้องเข้าไปมีบทบาทในการให้บริการทางด้านสาธารณสุขที่ภาครัฐจัดให้แก่ประชากรกลุ่มวัยเรียนและเยาวชน ดังนั้นกลุ่มเด็กวัยเรียน    และเยาวชนควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยเหตุผลอันเนื่องมาจากเด็กวัยเรียนเป็นวัยพื้นฐานของการเจริญเติบโต จำเป็นอย่างยิ่งที่เด็กวัยเรียนต้องได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา สังคม อารมณ์ และพฤติกรรม  เพื่อก้าวหน้าสู่วัยทำงานที่มีคุณภาพ ดังนั้นแนวคิดใหม่ในการพัฒนาเด็กวัยเรียนควบคู่ไปกับการศึกษาจึงเกิดขึ้น    โดยมีโรงเรียนซึ่งถือเป็นสถาบันทางสังคมพื้นฐาน และที่สำคัญมีหน้าที่พัฒนาเยาวชนให้มีศักยภาพสามารถดำรงชีวิต  ในสังคมได้อย่างปกติสุข และเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้น  ของการปลูกฝังความรู้ ทางสุขภาพ ทัศนคติที่ดีต่อสุขภาพ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง    และพัฒนากลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี มีศักยภาพและ คุณภาพที่พึงประสงค์เพื่อร่วมพัฒนาประเทศต่อไป จากการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพนางตุง ได้มีการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการตรวจสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน โดยการค้นหานักเรียนที่มีปัญหาด้านทันตสุขภาพ เพื่อได้รับคำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อตรวจรักษาอย่างถูกต้อง งานทันตกรรม  สำหรับเด็กมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการดูแลทันตสุขภาพอย่างเหมาะสม โดยมุ่งเน้นงานส่งเสริมป้องกัน ทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลสุขภาพอนามัยในช่องปากของตนเอง      จากการดำเนินงาน ทันตกรรมในเด็กวัยเรียนปีงบประมาณ 2566 พบว่าเด็กวัยเรียนเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ 52 เฉลี่ยมีฟันผุ 1.2iซี่/คน ฟันดีไม่ผุ (Cavityifree) ร้อยละ 79.09 ปราศจากฟันผุ (Cariesifree) ร้อยละ 48 และโรคเหงือกอักเสบ  ร้อยละ 42.62 ส่วนพฤติกรรมด้านทันตสุขภาพพบว่าเด็กไม่เคยแปรงฟันหลังอาหารกลางวันร้อยละ 50.30 แปรงฟันก่อนนอน ร้อยละ 42.60 แสดงให้เห็นว่าเด็กมีพฤติกรรมการเกิดฟันผุและเหงือกอักเสบสูง ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพนางตุง จึงได้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์การแปรงฟันที่มีคุณภาพพร้อมกับให้บริการขูดหินปูน อุดฟันและ    เคลือบหลุมร่องฟันขึ้น ทั้งนี้จำต้องมีเครื่องขูดหินปูนและเครื่องฉายแสงเพื่อนำไปใช้ในการให้บริการทันตกรรม      ในเด็กนักเรียน ซึ่งหากมีการบริการทันตกรรมเชิงรุกในโรงเรียน จะส่งผลให้เด็กได้รับบริการทันตกรรมอย่างทันท่วงที  ไม่จำเป็นต้องรอคิวรับบริการเช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป ประกอบกับเด็กได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพอย่างเหมาะสมในกิจกรรมตรวจคัดกรองและให้บริการทันตกรรมตามความจำเป็น จะสามารถควบคุมและลดอัตราการเกิดฟันผุในเด็กประถมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.2 - ชั้น ป.6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
  2. 2. เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.2 - ชั้น ป.6 ที่พบปัญหาได้รับการรักษาตามความจำเป็น เช่น ถอนฟัน,ขูดหินปูน, อุดฟัน,เคลือบหลุมร่องฟันและทาฟลูออไรด์วานิช

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจสุขภาพช่องปาก
  2. ตรวจสุขภาพช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 46
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 158
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1. นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
6.2. นักเรียนมีสุขภาพช่องปาก สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.2 - ชั้น ป.6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของนักเรียน ชั้น อ.2 - ป.6 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

 

2 2. เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.2 - ชั้น ป.6 ที่พบปัญหาได้รับการรักษาตามความจำเป็น เช่น ถอนฟัน,ขูดหินปูน, อุดฟัน,เคลือบหลุมร่องฟันและทาฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้น อ.2 - ชั้น ป.6 ที่พบปัญหาได้รับการรักษาตามความจำเป็น เช่น ถอนฟัน, ขูดหินปูน,อุดฟัน,เคลือบหลุมร่องฟันและทาฟลูออไรด์วานิช

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 204
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 46
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 158
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.2 - ชั้น ป.6  ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (2) 2. เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.2 - ชั้น ป.6  ที่พบปัญหาได้รับการรักษาตามความจำเป็น  เช่น ถอนฟัน,ขูดหินปูน,    อุดฟัน,เคลือบหลุมร่องฟันและทาฟลูออไรด์วานิช

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพช่องปาก (2) ตรวจสุขภาพช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริการทันตกรรมเชิงรุกในเด็กนักเรียนประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอภัยรัตน์ มุขตา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด