กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง


“ โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx) ตำบลพะตง ”

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง โดย ดร.สุคนธ์ ชัยชนะ ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง

ชื่อโครงการ โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx) ตำบลพะตง

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7890-01-001 เลขที่ข้อตกลง 2

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx) ตำบลพะตง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx) ตำบลพะตง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx) ตำบลพะตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7890-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,375.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นภัยอันตรายที่คุกคามมวลมนุษยชาติทั่วโลก เป็นเหตุหนึ่งที่ทำให้คุณภาพ ชีวิตของประชากรต่ำลง ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาประเทศและก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมที่บั่นทอน เศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ โดยมีการกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งในการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดนั้น ถือเป็นนโยบายสาธารณะที่มีความเกี่ยวข้องกับการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลเพื่อประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม ในขณะที่ประชาชนมีความคาดหวังให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เร่งรัดในการควบคุม ป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อที่จะได้มีความรู้สึกมั่นคงและปลอดภัยในการดำรงชีวิต โดยที่ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้ระบุ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นประเด็นที่อยู่ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง โดยผลักดันการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาของทุกภาคส่วนในทุกประเด็นอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการหารือ วางแผน และยกระดับวิธีการแก้ไขปัญหาที่อาศัยการผนึกกำลังคนและทรัพยากรให้ มีส่วนร่วมแบบบูรณาการอย่างแท้จริง เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานหลักและรองในการป้องกันแก้ไขปัญหาและช่วยเหลือประชาชน
      ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด โดยมีการใช้ กระบวนการชุมชนเป็นฐาน ในการค้นหา ชักชวน และร่วมดูแลช่วยเหลือผู้ใช้ยาเสพติด ให้สอดคล้องกับสภาพ ความเป็นอยู่/บริบทของพื้นที่ที่เหมาะสม ประกอบกับสถานการณ์ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานด้านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ในทุกระบบ ทำให้การบำบัดฟื้นฟูบางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ จำเป็นจะต้องปรับรูปแบบการบำบัดฟื้นฟู ให้เหมาะสม สอดรับกับสถานการณ์ โดยการนำรูปแบบการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx) มาดำเนินการไปพร้อมกับการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในหมู่บ้าน/ชุมชน การบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน เป็นการดูแล ผู้ใช้ยาเสพติดให้เกิดการบำบัดฟื้นฟูใกล้บ้าน หรือภายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีกระบวนการ ตั้งแต่การค้นหา คัดกรอง บำบัดฟื้นฟู การลดอันตรายจากยาเสพติด และการติดตามดูแลช่วยเหลือทางสังคม ซึ่งถือว่า เป็นเป้าหมายสำคัญที่หน่วยงานทุกภาคส่วนและชุมชนจะเข้ามาดำเนินการร่วมกัน

      จากสถานการณ์ข้อมูล และการดำเนินงานด้านการรักษาในศูนย์คัดกรองยาเสพติดของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ต. พะตงตั้งแต่ ปี 2565 ถึง 2566 เป็นต้นมา พบว่า มีผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติดเข้าสู่ระบบการรักษาบำบัดโดยความสมัครใจ จำนวน 5 คน หลังจากบำบัดรักษา ปัจจุบันไม่ใช้สารเสพติดทั้ง 3 คน ประกอบอาชีพแล้ว 2 คน อีก 2 คน กำลังรักษา และอยู่ในช่วงการติดตามผล และประเมินติดตามโดยทีมสหวิชาชีพ และทีมภาคีเครือข่ายในชุมชน เพื่อประเมินความต้องการ และให้ความช่วยเหลือตามความจำเป็น รวมทั้งส่งเสริมการประกอบอาชีพ และประเมินคุณภาพชีวิตของครอบครัว จนทำให้ผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติดสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนและพึ่งตนเองได้ รวมถึงการดำเนินงานแก้ไขปัญหาจิตเวชคุ้มคลั่งในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด ร่วมกับโรงพยาบาลหาดใหญ่ และภาคีเครือข่าย ที่นำผู้ใช้สารเสพติดที่มีปัญหาด้านจิตเวชเข้าสู่กระบวนการรักษา รวมถึงให้ชุมชนร่วมกันสังเกต ร่วมสอดส่อง มองหาผู้ที่มีสัญญาณเตือน 5 อาการสำคัญ คือ “นอนไม่หลับ เดินไปเดินมา พูดจาคนเดียว หงุดหงิดฉุนเฉียว เที่ยวหวาดระแวง” เพื่อนำส่งบุคคลเหล่านี้เข้าสู่กระบวนการรักษา เพื่อป้องกันอันตรายแก่บุคคล ครอบครัว และชุมชน จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่า กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเหล่านี้ ร้อยละ 90 เป็นผู้ป่วยที่มีการใช้สารเสพติดมากที่สุด ดังข้อมูลในปี 2566 มีผู้ป่วยที่ส่งเข้าระบบรักษา จำนวน 18 คน เป็นผู้ใช้สารเสพติด จำนวน 9 คน และจากการดำเนินงานที่ผ่านในพื้นที่พะตงนั้น กล่าวได้ว่าประสบความสำเร็จระดับดีมาก เนื่องจากเป็นการทำงานโดยความร่วมมือจากภาคีทุกภาคส่วน ทั้ง ภาคราชการประกอบด้วย เทศบาลตำบลพะตง สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง สภต. ทุ่งลุง โรงพยาบาลหาดใหญ่ สสอ. หาดใหญ่ ภาคผู้นำท้องถิ่น ประกอบด้วย กำนัน อส. ผู้นำชุมชน อสม. แกนนำต่างๆ และภาคเอกชน คือ มูลนิธิพะตงเทิดธรรม โรงงานอุตสาหกรรม กล่าวได้ว่าการดำเนินงานในพื้นที่ตำบลพะตงที่ผ่านมา กระบวนการดำเนินงานนั้นไม่ได้แตกต่างกับแนวคิดการนำรูปแบบการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน มาดำเนินการไปพร้อมกับการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่รัฐบาลกำหนดไว้       เพื่อให้การดำเนินการบำบัดฟื้นฟู ผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน ตำบลพะตง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ศูนย์คัดกรองยาเสพติดตำบลพะตง โดยสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง และคณะกรรมการการดำเนินการบำบัดฟื้นฟู ผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน ตำบลพะตง จึงได้จัดทำโครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx) เพื่อให้ผู้เสพยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนได้รับการติดตาม ดูแล และช่วยเหลือในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม จนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สามารถลด ละ เลิกยาเสพติดได้ และส่งคืนคนดีกลับสู่สังคม โดยใช้รูปแบบการดูแลผู้ใช้สารเสพติดแบบมีส่วนร่วมที่เรียกว่า “พะตงโมเดล” ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้แก่ชุดปฏิบัติการระดับตำบล ระดับชุมชน/หมู่บ้านในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว
  3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และให้ความช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยยาเสพติดและครอบครัว ในเชิงสุขภาพและสังคม
  4. เพื่อนำครอบครัว ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยยาเสพติด
  5. เพื่อสร้างรูปแบบการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด โดยชุมชนมีส่วนร่วม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ระยะเตรียมการ
  2. ระยะดำเนินการ
  3. ระยะติดตามผล
  4. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว
  5. เพื่อให้ความรู้แก่ชุดปฏิบัติการระดับตำบล ระดับชุมชน/หมู่บ้าน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว
  6. พัฒนาคุณภาพชีวิต และให้ความช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยยาเสพติดและครอบครัว ในเชิงสุขภาพและสังคม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มผู้ป่วย (จากการใช้สารเสพติด) ครอบครัวผู้ใช้สารเสพติด ร่วมเป็นเครือข่ายชุมชน
ผลลัพธ์ 1 ผู้ใช้ยาเสพติดในพื้นที่ตำบลพะตง ได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม และสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน
2 ผู้ใช้ยาเสพติดมีพฤติกรรมที่เหมาะสมสามารถลด ละ เลิกยาเสพติดได้ และไม่กลับไปมีพฤติกรรม เสพติดซ้ำ
3 สามารถช่วยเหลือผู้เสพผู้ติดที่ยังไม่สามารถเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลที่ยังคงอาศัยอยู่ในชุมชนได้ มีโอกาสรับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถนะด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งในระดับครอบครัว และชุมชนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้แก่ชุดปฏิบัติการระดับตำบล ระดับชุมชน/หมู่บ้านในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ ชุดปฏิบัติการระดับตำบล ระดับชุมชน/หมู่บ้าน มีความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เสพสารเสพติด สามารถเปลี่ยนพฤติกรรม เลิก ลด การใช้สารเสพติด

 

3 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และให้ความช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยยาเสพติดและครอบครัว ในเชิงสุขภาพและสังคม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เสพสารเสพติด และครอบครัว ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต

 

4 เพื่อนำครอบครัว ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ครอบครัว ชุมชน เข้ามาร่วมดูแลและช่วยเหลือผู้ใช้สารเสพติด

 

5 เพื่อสร้างรูปแบบการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด โดยชุมชนมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : เกิดรูปแบบการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด โดยชุมชนมีส่วนร่วม “พะตงโมเดล”

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่ชุดปฏิบัติการระดับตำบล ระดับชุมชน/หมู่บ้านในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว (3) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และให้ความช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยยาเสพติดและครอบครัว ในเชิงสุขภาพและสังคม (4) เพื่อนำครอบครัว ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยยาเสพติด (5) เพื่อสร้างรูปแบบการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด โดยชุมชนมีส่วนร่วม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ระยะเตรียมการ (2) ระยะดำเนินการ (3) ระยะติดตามผล (4) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว (5) เพื่อให้ความรู้แก่ชุดปฏิบัติการระดับตำบล ระดับชุมชน/หมู่บ้าน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด และครอบครัว (6) พัฒนาคุณภาพชีวิต และให้ความช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยยาเสพติดและครอบครัว ในเชิงสุขภาพและสังคม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx) ตำบลพะตง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7890-01-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง โดย ดร.สุคนธ์ ชัยชนะ ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด