กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด


“ โครงการส่งเเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า ศูนย์พัฒนเด็กเล็กวัดแหลมโตนด ”

ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางวาสนา บุญเรืองขาว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า ศูนย์พัฒนเด็กเล็กวัดแหลมโตนด

ที่อยู่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3326-03-08 เลขที่ข้อตกลง 17/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า ศูนย์พัฒนเด็กเล็กวัดแหลมโตนด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า ศูนย์พัฒนเด็กเล็กวัดแหลมโตนด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า ศูนย์พัฒนเด็กเล็กวัดแหลมโตนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3326-03-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,148.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยนับเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดสำหรับพัฒนาการของชีวิต ประสบการณ์และการเรียนรู้ที่เด็กได้รับในช่วง 6 ปีแรกของชีวิตจะมีผลต่อการวางรากฐานที่สำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยดังนั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา วิธีการและรูปแบบที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญยิ่ง การจัดการศึกษาปฐมวัยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง พ่อ แม่ และผู้ใกล้ชิดเด็ก เป็นผู้ช่วยเหลือให้เด็กมีพัฒนาการและเตรียมความพร้อมอย่างเหมาะสม เนื่องจาก ช่วงวัยในบางช่วงเด็กยังต้องอยู่ในการดูและของผู้ปกครองเป็นส่วนมาก โดยเฉพาะในช่วง 0-4 ปีแรกของชีวิต และช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่สมอง และพัฒนาการพื้นฐานด้านร่างกายต้องได้รับการเตรียมพร้อมอย่างถูกต้องและครบถ้วนในการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองนั้น เนื้อหาที่จัดให้มีความสำคัญ เนื่องจากบริบทของผู้ปกครองมีความแตกต่างกัน ควรเน้นเนื้อหาที่จำเป็นพื้นฐานและสามารถต่อยอดได้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดแหลมโตนด จึงได้จัดสำรวจ รับฟังความคิดเห็นของครู ผู้ปกครอง และนักวิชาการปฐมวัย พบว่า เนื้อหาที่เหมาะในการให้ความรู้ผู้ปกครองในชุมชน ประกอบด้วย การพูด การกิน การเล่น การสร้างประสบการณ์ที่ตื่นเต้น การดูโทรทัศน์ ทักษะการเรียนรู้ และการกอดเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดแหลมโตนด จึงได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก "กิน กอด เล่น เล่า "

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนากรด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญาในเด้กปฐมวัย
  2. เพื่อให้ผุ้แกครองมีความรู่้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการอบรมเลี้ยงดูและเสริมสร้างพัฒนาการแก่เด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม
  3. เพิื่อให้เกิดความสัมพันธ์และมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยระหว่างเด็กและผู้ปกครอง
  4. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก มีส่วร่วมในการเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์ ผ่านกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า
  5. เพื่อให้ครู และผู้เดูแลเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วม มีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4ด้าน มีแนวทางในการลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
  6. เกิดความร่วมมือของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในการสร้างเสริมพัฒนาการเด็ก ได้แก่ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันประสบการณ์มีกิจกรรมที่สร้างความสัมพันธ์ร่วมเป็นเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนงานครูคณะกรรมการสถานศึกษา ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนการดำเนินงานโครงการ
  2. ประสานเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโตนด เพื่อมาให้ความรู้เรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
  3. อบรมเชิงปฎิบัติการ และจัดทำแผนการจัดกิจกรรมเป็นฐานหมุนเวียนให้แก่ผู้ปกครอง จำนวน 4 ฐานดังนี้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 18
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครู ผู้ปกครองได้รับความรู้และความเข้าใจ สมารถนำไปปฎิบัติให้เกิดประโยชน์สูงสุดและยังมีส่วนส่งเสริมสับสนุนพัฒนาการเด็กได้เหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมพัฒนากรด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญาในเด้กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดแหลมโตนดในการดูแลของผู้ปกครองมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
80.00 90.00

 

2 เพื่อให้ผุ้แกครองมีความรู่้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการอบรมเลี้ยงดูและเสริมสร้างพัฒนาการแก่เด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดแหลมโตนดมีความรู้ความเข้าใจมีทักษะในการอบรมเลี้ยงดู และเสริมสร้างพัฒนาการแก่เด้กปฐมวัยได้อย่้างเหมาะสม
80.00 95.00

 

3 เพิื่อให้เกิดความสัมพันธ์และมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยระหว่างเด็กและผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองมีความตระหนัก และมีแนวทางในการเสริมสร้างพัฒนาการ และสร้างความสัมพันธ์กับลูก
80.00 95.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก มีส่วร่วมในการเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์ ผ่านกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก มีส่วร่วมในการเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์ ผ่านกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า และส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสม
80.00 95.00

 

5 เพื่อให้ครู และผู้เดูแลเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วม มีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4ด้าน มีแนวทางในการลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครู และผู้เดูแลเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วม มีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4ด้าน มีแนวทางในการลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
80.00 95.00

 

6 เกิดความร่วมมือของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในการสร้างเสริมพัฒนาการเด็ก ได้แก่ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันประสบการณ์มีกิจกรรมที่สร้างความสัมพันธ์ร่วมเป็นเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความร่วมมือของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในการสร้างเสริมพัฒนาการเด็ก ได้แก่ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันประสบการณ์มีกิจกรรมที่สร้างความสัมพันธ์ร่วมเป็นเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง
80.00 95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 38
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 18
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนากรด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญาในเด้กปฐมวัย (2) เพื่อให้ผุ้แกครองมีความรู่้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการอบรมเลี้ยงดูและเสริมสร้างพัฒนาการแก่เด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม (3) เพิื่อให้เกิดความสัมพันธ์และมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยระหว่างเด็กและผู้ปกครอง (4) เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก มีส่วร่วมในการเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์ ผ่านกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า (5) เพื่อให้ครู และผู้เดูแลเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วม มีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4ด้าน มีแนวทางในการลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก (6) เกิดความร่วมมือของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องในการสร้างเสริมพัฒนาการเด็ก ได้แก่ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันประสบการณ์มีกิจกรรมที่สร้างความสัมพันธ์ร่วมเป็นเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนงานครูคณะกรรมการสถานศึกษา ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนการดำเนินงานโครงการ (2) ประสานเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโตนด เพื่อมาให้ความรู้เรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัย (3) อบรมเชิงปฎิบัติการ และจัดทำแผนการจัดกิจกรรมเป็นฐานหมุนเวียนให้แก่ผู้ปกครอง จำนวน 4 ฐานดังนี้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กอด กิน เล่น เล่า ศูนย์พัฒนเด็กเล็กวัดแหลมโตนด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3326-03-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวาสนา บุญเรืองขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด