กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลตำบลบ่อทอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ”

ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะรอกี เวาะเลง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลตำบลบ่อทอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ที่อยู่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7012-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลตำบลบ่อทอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลตำบลบ่อทอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลตำบลบ่อทอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7012-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ได้ให้ความสำคัญ กับการสร้างเสริมและพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ซึ่งงานอนามัยแม่และเด็กนับได้ว่าเป็นงานที่มีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาเด็กให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ เนื่องจากในปี 2563 จำนวนการเกิดของเด็กไทย ลดต่ำกว่า 600,000 คน/ปี เป็นครั้งแรก และมีแนวโน้มจะลดต่ำลงอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับอัตราเจริญพันธ์โดยรวมลดลงต่ำกว่าระดับทดแทนถึงประมาณ 1.8 คน หรือกล่าวได้ว่าสตรี 1 คน จะมีบุตรน้อยกว่า 2 คน รัฐบาลจึงมอบหมายให้ 4 กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการบูรณาการความร่วมมือพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (กลุ่มเด็กปฐมวัยและผู้สูงอายุ) ตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม 2560 มีเจตจำนงที่จะส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันในการขับเคลื่อนการดำเนินงานการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต โดยร่วมกันผลักดันในระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนสร้างกลไกการดำเนินงานให้เอื้อต่อการดูแลกลุ่มเป่าหมายในระดับพื้นที่ ที่เชื่อมโยงสอดรับแนวนโยบายรัฐบาลและแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การเกิดอย่างมีคุณภาพจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทุกภาคต้องร่วมมือกัน โดยเริ่มตั้งแต่ช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดของชีวิต (1,000 วันแรก : ตั้งแต่ในครรภ์ ถึง 2 ปี) เพราะเป็นช่วงเวลาสำคัญของกระบวนการพัฒนาการด้านร่างกายและสมอง ส่งผลต่อน้ำหนักทารก ภาวะเบี้ย ภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการ เนื่องจากเป็นช่วงที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง โดยการเพิ่มเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับโภชนาการที่เหมาะสม ร่วมกับกระบวนการ กิน นอน กอด เล่น เล่าคุณภาพ จะทำให้เด็กเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพสูงสุด โดยจะต้องมีกระบวนการดุแลพ่อแม่ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการจะดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย จำเป็นต้องมีการบูรณาการทั้ง 4 กระทรวงหลัก เพื่อเป้าหมาย เด็กไทย แข็งแรง เก่งดี มีวินัย ไฝ่เรียนรู้ ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ตามแนวทางการพัฒนา และอภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน เน้นฐานการแก้ปัญหา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และครอบครัว ดังนั้น เพื่อให้กระบวนการสร้างต้นน้ำ (คุณภาพ) เกิดขึ้นได้จริง จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของภาคี 4 กระทรวงร่วมบูรณาการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ โดยเริ่มตั้งแต่การค้นหาหญิงตั้งครรภ์ให้มาฝากครรภ์เร็วสนับสนุนส่งเสริมภาวะโภชนาการให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาวะที่ดี เสริมสร้างความรอบรู้ให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัว ร่วมเฝ้าระวังป้องกันภาวะเสี่ยงที่ส่งผลทำให้คลอดก่อนกำหนด ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ รวมถึงการเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการและพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง มุ่งหวังให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพเป็นอนาคตของประเทศชาติ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
  4. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
  5. เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
  6. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
  7. เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
  8. เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้
  2. จัดอบรมให้ความรู้
  3. ติดตามเยี่ยมบ้าน
  4. อบรมให้ความรู้
  5. อบรมให้ความรู้
  6. ติดตามเยี่ยมบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เพิ่มช่องทางเฝ้าระวัง ตรวจสอบ ติดตาม แลกเปลี่ยนความรู้และแก้ไขปัญหาการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด ๒. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมโภชนาการให้หญิงตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด ๓. เพื่อพัฒนาทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพ ให้หญิงตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)
0.00 0.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
80.00 90.00

 

3 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น
80.00 90.00

 

4 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
100.00 100.00

 

5 เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย เพิ่มขึ้น
100.00 100.00

 

6 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
50.00 70.00

 

7 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง
10.00 0.00

 

8 เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพิ่มขึ้น
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น (2) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง (4) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (5) เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย (6) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน (7) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ (8) เพื่อส่งเสริมและเตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธุ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) จัดอบรมให้ความรู้ (3) ติดตามเยี่ยมบ้าน (4) อบรมให้ความรู้ (5) อบรมให้ความรู้ (6) ติดตามเยี่ยมบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด เทศบาลตำบลบ่อทอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7012-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะรอกี เวาะเลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด