กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการทำปุ๋ยหมักในเข่งย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ท้องถิ่น เพื่อสุขภาพที่ดีและปลอดภัย
รหัสโครงการ 67-L7257-1-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองคอหงส์
วันที่อนุมัติ 23 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 57,944.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายรวี ไกรมุ่ย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2567 15 ก.ย. 2567 57,944.00
รวมงบประมาณ 57,944.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของชุมชนสามารถจัดการขยะอินทรีย์ได้ถูกต้อง
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในชุมชน ซึ่งมีต้นทางมาจากขยะครัวเรือนเป็นส่วนใหญ่ การจัดการขยะครัวเรือนโดยการพัฒนาเทคโนโลยีการต่างๆที่สามารถเปลี่ยนขยะให้มีมูลค่า และใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จึงเป็นทางเลือกที่สามารถ จัดการขยะให้ยั่งยืน เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาจากต้นทางในศาสตร์เกษตรธรรมชาติ จุลินทรีย์ท้องถิ่น หรือ IMO (Indigenous Microorganism) ช่วยในการย่อยสลายทรีย์ที่มีอยู่ในดินทั้งบนผิวดินและใต้ดิน อีกทั้งช่วยในการกำจัดจุสินทรีย์ที่ก่อให้เกิดการเน่าเหม็นต่างๆ ดังนั้น ระบบจัดการขยะอินทรีย์เป็นปุยหมักที่ใช้การย่อยสลายจากจุลทรีย์ท้องถิ่น จึงเป็นการนำขยะอินทรีย์มาใช้ประโยชน์ใหม่ จึงช่วยลดปริมาณขยะอินทรีย์ได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออบรมให้ความรู้ เรื่อง การจัดการขยะอินทรีย์ประเภทวัสดุจากพืชครัวเรือนมิให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค

ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดการขยะอินทรีย์ได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

0.00
2 เพื่อนำขยะอินทรีย์ประเภทวัสดุจากพืชในครัวเรือนมาทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชผักปลอดภัย สร้างการบริโภคที่ปลอดภัยในครัวเรือน และมีสุขภาพที่ดี

ร้อยละ 50 ของครัวเรือน มีการนำปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากการหมักมาใช้ในการปลูกพืชผักปลอดภัย สร้างการบริโภคที่ปลอดภัย และมีสุขภาพที่ดีเพิ่มขึ้น

0.00
3 เพื่อลดปริมาณขยะครัวเรือน

ร้อยละ 50 ของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายมีขยะอินทรีย์ในครัวเรือนลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 57,944.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมดำเนินการถ่ายทอดองค์ความรู้ และสนับสนุนปัจจัยการผลิตเข่งหมักปุ๋ย สำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นครัวเรือนต้นแบบชุมชน และสนับสนุนปัจจัยการผลิตพืชผักปลอดภัย 0 57,944.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำองค์ความรู้ไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง เกิดระบบการจัดการขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ยหมักนำมาใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชผักปลอดภัย ช่วยลดแหล่งอาหารและลดการเพาะขยายพันธุ์ของสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค ช่วยตัดวงจรการระบาดของโรคระบาดในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์
  2. ประชาชนมีองค์ความรู้ เรื่องการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีจนสามารถนำไปปฏิบัติในครัวเรือนของตนเองได้
  3. ประชาชนสามารถผลิตพืชอาหารปลอดภัยที่ส่งผลให้สุขภาพดี ช่วยลดความเจ็บป่วยที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนจากสารตกค้างที่ใช้ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
  4. มีต้นแบบในการจัดการขยะครัวเรือนในแต่ละชุมชน ที่จะสามารถขยายผลไปยังครัวเรือนอื่นๆ ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ม.ค. 2567 13:43 น.