โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า ”
ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายลัภย์ หนูประดิษฐ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7257-3-02 เลขที่ข้อตกลง 80/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 15 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7257-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 471,560.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
“สังคมสูงวัย” กลายเป็นสถานการณ์ทางสังคมที่ทราบกันดีว่า เราทุกคนล้วนมีส่วนเกี่ยวข้อง และต้องร่วมเดินไปด้วยกัน ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี 2548 และมีอัตราการเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว และคาดว่าในปี 2583 จะมีประชากรผู้สูงอายุวัยปลาย หรือผู้ที่มีอายุ 80 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นอีกเกือบเท่าตัว ด้วยความจริงที่ว่า คนยิ่งมีอายุมากขึ้น ยิ่งมีโอกาสเสี่ยงต่อ ความเจ็บป่วย และความพิการหรือช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เพิ่มมากขึ้น จึงพอเห็นภาพได้ว่าในอนาคตเมื่อสังคมไทยสูงวัยมากขึ้น ความต้องการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุจะมากขึ้นเป็นเงาตามตัว นอกจากนี้ สภาพการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในชนบท ผู้สูงอายุเปรียบเสมือนผู้ที่ถูกลืมจากสังคม ถูกทอดทิ้งให้จับเจ่าอยู่แต่ในบ้านอย่างเหงาหงอย เกิดทัศนเชิงลบต่อตนเอง คือรู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่า ในขณะที่ผู้สูงอายุในเขตเมืองก็ต้องอยู่แบบต่างคนต่างอยู่ มีความผูกพันกันน้อย ทำให้ผู้สูงอายุต้องมีทักษะชีวิตบางประการ เพื่อช่วยให้สามารถเผชิญปัญหาและความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ถาโถมเข้ามาได้อย่างเหมาะสมประเทศไทยมีเป้าหมายทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ การมีอายุยืนยาวและการมีคุณภาพชีวิตที่ดี การที่ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงในทุกช่วงวัย ทำให้มีอายุยืนยาว เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ซึ่งการมีอายุยืนยาวไม่เจ็บป่วยเป็นโรค เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตเนื่องจากคุณภาพชีวิตประกอบด้วยสุขภาพในหลายด้านรวมกัน ได้แก่ 1.สุขภาพทางกาย (physical health) คือ มีสภาพร่างกายที่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และมีการพัฒนาที่เหมาะสมกับวัยสังเกตได้จากการที่บุคคลนั้นมีความสมบูรณ์แข็งแรง ระบบอวัยวะทุกส่วนทำงานได้ดีมีประสิทธิภาพ ร่างกายมีสมรรถภาพสูง สามารถทำงานได้นาน ๆ โดยไม่เหนื่อยง่าย การนอนและการพักผ่อนเป็นไปตามปกติ ผิวพรรณผุดผ่อง รูปร่างทรวดทรงสมส่วน เป็นต้น 2.สุขภาพทางจิต (mental health) คือ มีสภาพจิตปกติ สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งผู้มีสุขภาพจิตดีย่อมมีผลมาจากสุขภาพกายดีด้วย หรือคำกล่าวที่ว่า “จิตใจที่แจ่มใส ย่อมอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์”3.สุขภาพทางสังคม (social health) คือ การมีสภาพของความเป็นอยู่ หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อน สามารถเข้ากับบุคคลและชุมชนได้ทุกสถานะอาชีพ ไม่เป็นคนถือตัว ไม่เป็นคนเอารัดเอาเปรียบบุคคลอื่น เป็นที่เคารพรักและเป็นที่นับถือของคนทั่วไป และ 4.ภาวะสุขภาพโดยทั่วไป (general health) โดยองค์กรอนามัยโลกได้ให้คำนิยามของ “สุขภาพ” ว่าไม่ใช่แต่เพียงการปราศจากโรค แต่หมายถึงการมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม ซึ่งสอดคล้องกับนิยามของคุณภาพชีวิตที่กล่าวว่า “คุณภาพชีวิต เป็นการรับรู้ความพึงพอใจและสถานะของบุคคลในการดำรงชีวิตในสังคม โดยจะสัมพันธ์กับเป้าหมายและความคาดหวังของตนเอง ภายใต้บริบทของวัฒนธรรมค่านิยม มาตรฐานของสังคม”
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการ “พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า” ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลด้านต่างๆ และมีความสุขในการดำเนินชีวิตในสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการพัฒนาทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่เหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ
- กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
- กิจกรรมประเมินดัชนีความสุข
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
- กิจกรรมประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ มีสุขภาพดีถ้วนหน้า และคุณภาพชีวิตที่ดี
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการพัฒนาทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีพัฒนาด้านสุขภาพกายที่เหมาะสม
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่เหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีพัฒนาด้านสุขภาพจิตที่เหมาะสมอยู่ในเกณฑ์ปกติ
0.00
3
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุร้อยละ 80 อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการพัฒนาทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่เหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ (3) กิจกรรมประเมินดัชนีความสุข (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า (5) กิจกรรมประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7257-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายลัภย์ หนูประดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า ”
ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายลัภย์ หนูประดิษฐ์
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7257-3-02 เลขที่ข้อตกลง 80/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 15 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7257-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 471,560.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) “สังคมสูงวัย” กลายเป็นสถานการณ์ทางสังคมที่ทราบกันดีว่า เราทุกคนล้วนมีส่วนเกี่ยวข้อง และต้องร่วมเดินไปด้วยกัน ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี 2548 และมีอัตราการเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว และคาดว่าในปี 2583 จะมีประชากรผู้สูงอายุวัยปลาย หรือผู้ที่มีอายุ 80 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นอีกเกือบเท่าตัว ด้วยความจริงที่ว่า คนยิ่งมีอายุมากขึ้น ยิ่งมีโอกาสเสี่ยงต่อ ความเจ็บป่วย และความพิการหรือช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เพิ่มมากขึ้น จึงพอเห็นภาพได้ว่าในอนาคตเมื่อสังคมไทยสูงวัยมากขึ้น ความต้องการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุจะมากขึ้นเป็นเงาตามตัว นอกจากนี้ สภาพการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในชนบท ผู้สูงอายุเปรียบเสมือนผู้ที่ถูกลืมจากสังคม ถูกทอดทิ้งให้จับเจ่าอยู่แต่ในบ้านอย่างเหงาหงอย เกิดทัศนเชิงลบต่อตนเอง คือรู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่า ในขณะที่ผู้สูงอายุในเขตเมืองก็ต้องอยู่แบบต่างคนต่างอยู่ มีความผูกพันกันน้อย ทำให้ผู้สูงอายุต้องมีทักษะชีวิตบางประการ เพื่อช่วยให้สามารถเผชิญปัญหาและความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่ถาโถมเข้ามาได้อย่างเหมาะสมประเทศไทยมีเป้าหมายทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ การมีอายุยืนยาวและการมีคุณภาพชีวิตที่ดี การที่ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงในทุกช่วงวัย ทำให้มีอายุยืนยาว เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ซึ่งการมีอายุยืนยาวไม่เจ็บป่วยเป็นโรค เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตเนื่องจากคุณภาพชีวิตประกอบด้วยสุขภาพในหลายด้านรวมกัน ได้แก่ 1.สุขภาพทางกาย (physical health) คือ มีสภาพร่างกายที่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และมีการพัฒนาที่เหมาะสมกับวัยสังเกตได้จากการที่บุคคลนั้นมีความสมบูรณ์แข็งแรง ระบบอวัยวะทุกส่วนทำงานได้ดีมีประสิทธิภาพ ร่างกายมีสมรรถภาพสูง สามารถทำงานได้นาน ๆ โดยไม่เหนื่อยง่าย การนอนและการพักผ่อนเป็นไปตามปกติ ผิวพรรณผุดผ่อง รูปร่างทรวดทรงสมส่วน เป็นต้น 2.สุขภาพทางจิต (mental health) คือ มีสภาพจิตปกติ สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งผู้มีสุขภาพจิตดีย่อมมีผลมาจากสุขภาพกายดีด้วย หรือคำกล่าวที่ว่า “จิตใจที่แจ่มใส ย่อมอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์”3.สุขภาพทางสังคม (social health) คือ การมีสภาพของความเป็นอยู่ หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อน สามารถเข้ากับบุคคลและชุมชนได้ทุกสถานะอาชีพ ไม่เป็นคนถือตัว ไม่เป็นคนเอารัดเอาเปรียบบุคคลอื่น เป็นที่เคารพรักและเป็นที่นับถือของคนทั่วไป และ 4.ภาวะสุขภาพโดยทั่วไป (general health) โดยองค์กรอนามัยโลกได้ให้คำนิยามของ “สุขภาพ” ว่าไม่ใช่แต่เพียงการปราศจากโรค แต่หมายถึงการมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม ซึ่งสอดคล้องกับนิยามของคุณภาพชีวิตที่กล่าวว่า “คุณภาพชีวิต เป็นการรับรู้ความพึงพอใจและสถานะของบุคคลในการดำรงชีวิตในสังคม โดยจะสัมพันธ์กับเป้าหมายและความคาดหวังของตนเอง ภายใต้บริบทของวัฒนธรรมค่านิยม มาตรฐานของสังคม” ดังนั้น ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการ “พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า” ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลด้านต่างๆ และมีความสุขในการดำเนินชีวิตในสังคม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการพัฒนาทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่เหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ
- กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
- กิจกรรมประเมินดัชนีความสุข
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า
- กิจกรรมประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ มีสุขภาพดีถ้วนหน้า และคุณภาพชีวิตที่ดี
- ผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการพัฒนาทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีพัฒนาด้านสุขภาพกายที่เหมาะสม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่เหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีพัฒนาด้านสุขภาพจิตที่เหมาะสมอยู่ในเกณฑ์ปกติ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุร้อยละ 80 อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการพัฒนาทางด้านสุขภาพกายที่เหมาะสมกับวัย (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่เหมาะสม สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยากาศของสังคมได้ทุกระดับชั้น สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะทางสังคม ความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ (3) กิจกรรมประเมินดัชนีความสุข (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า (5) กิจกรรมประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สู่สุขภาพดีถ้วนหน้า จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7257-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายลัภย์ หนูประดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......