กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการสตรีไทยใส่ใจป้องกันภัยโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายภาณุวัตร แซ่หลู่

ชื่อโครงการ โครงการสตรีไทยใส่ใจป้องกันภัยโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-1-01 เลขที่ข้อตกลง 9/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรีไทยใส่ใจป้องกันภัยโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีไทยใส่ใจป้องกันภัยโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรีไทยใส่ใจป้องกันภัยโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5307-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานข้อมูลข่าวสารสุขภาพสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ การเสียชีวิตของคนไทยนั้นเกิดจากโรคมะเร็งสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง โดยในปีที่ผ่านมาพบว่าผู้หญิงไทยเป็นมะเร็งปากมดลูกมากที่สุด รองลงมาคือมะเร็งเต้านม และมะเร็งปอด ตามลำดับ สาเหตุที่ทำให้สตรีเป็นโรคมะเร็งมีหลายสาเหตุด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธุ์ วิถีชีวิต การบริโภค ผู้ป่วยที่มารับการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่ มักจะมาเมื่ออยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้การรักษาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร และมีค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง ซึ่งวิธีการป้องกันที่สำคัญที่สุด คือการค้นหาโรคตั้งแต่ยังไม่มีอาการเพื่อรับการรักษาก่อนจะลุกลาม โดยให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ ถ้าได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง การฝึกทักษะในการสังเกต และการตรวจคัดกรองด้วยตนเองเพื่อค้นหาความผิดปกติ ทำให้สามารถได้รับการดูแลรักษาได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ในขณะเดียวกัน กลุ่มสตรีสามารถดูแลตนเองและป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกได้ โดยการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ ของการลดปัญหาสุขภาพ ได้แก่ สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกแบบ HPV DNA TEST ทุกๆ 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวยังไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจากการประชาสัมพันธ์ที่ยังไม่ทั่วถึง กลุ่มเป้าหมายยังไม่ตระหนักและยังไม่เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกเท่าที่ควร

จากข้อมูลอำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ได้ดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและโรค มะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย ปีงบประมาณ 2565 ผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองพบว่าสตรีอายุ 30-70ปี ทั้งหมด 23,359 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจำนวน 11,778 ราย
คิดเป็นร้อยละ 50.40 (เป้าหมายร้อยละ 80) และสตรีอายุ 30-60 ปี ทั้งหมด18,920 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 3,035 ราย คิดเป็นร้อย 16.04 (เป้าหมายร้อยละ 20 ต่อปี)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ได้ดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย ปีงบประมาณ 2566 ผลการดำเนินงาน พบว่าสตรีอายุ 30-70 ปี ทั้งหมด 1,470 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจำนวน 506 ราย คิดเป็นร้อยละ 34.42 (เป้าหมายร้อยละ 80) และสตรีอายุ 30-60 ปี ทั้งหมด 1,717 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 88 ราย คิดเป็นร้อย 5 (เป้าหมายร้อยละ 20 ต่อปี) ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวในปีงบประมาณ 2567 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการตรวจคัดกรองในสตรีกลุ่มเป้าหมาย ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้สตรีไทยมีความรู้เรื่องการดูแลและเฝ้าระวังตนเองจากโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
  4. เพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้น ส่งต่อ เพื่อการรักษาได้ทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นเตรียมการ
  2. ขั้นดำเนินการ
  3. ติดตามประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อสม. หมู่ที่ 1,4 ตำบลบ้านควน 49

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม. และแกนนำสตรีประจำครอบครัว มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กลุ่มเป้าหมาย และเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้อย่างครอบคลุม
2.สตรีกลุ่มเป้าหมาย ที่มีอายุ 30–60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (ต่อปี)
3.สตรีที่มี อายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ขั้นดำเนินการ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.รณรงค์ให้ความรู้เรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแบบ HPV DNA Test (เป็นการตรวจหาเชื้อไวรัสเอชพีวี ระดับ DNA ซึ่งเป็นเทคนิคการตรวจระดับชีวโมเลกุลที่สามารถค้นหาเชื้อเอชพีวี ได้ในระยะก่อนที่จะเกิดเป็นมะเร็งปากมดลูกทำให้สามารถป้องกันและรักษาได้ก่อนที่เชื้อจะพัฒนาเป็นมะเร็งปากมดลูก) ในหมู่บ้าน
2.อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในกลุ่ม อสม.หมู่ที่ 1,4 ต.บ้านควน จำนวน 49 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ตำบลบ้านควน
3.อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมในกลุ่มแกนนำสตรีประจำครอบครัว อายุ 30-70 ปี ในพื้นที่หมู่ที่ 1,4 ต.บ้านควน จำนวน 60 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ตำบลบ้านควน
4.4.อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบ HPV DNA TEST (เป็นการตรวจหาเชื้อไวรัสเอชพีวี ระดับ DNA ซึ่งเป็นเทคนิคการตรวจระดับชีวโมเลกุลที่สามารถค้นหาเชื้อเอชพีวี ได้ในระยะก่อนที่จะเกิดเป็นมะเร็งปากมดลูกทำให้สามารถป้องกันและรักษาได้ก่อนที่เชื้อจะพัฒนาเป็นมะเร็งปากมดลูก) อายุ 30-60 ปี ในพื้นที่หมู่ที่ 1,4 ต.บ้านควน จำนวน 40คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ตำบลบ้านควน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้เรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแบบ HPV DNA Test (เป็นการตรวจหาเชื้อไวรัสเอชพีวี ระดับ DNA ซึ่งเป็นเทคนิคการตรวจระดับชีวโมเลกุลที่สามารถค้นหาเชื้อเอชพีวี ได้ในระยะก่อนที่จะเกิดเป็นมะเร็งปากมดลูกทำให้สามารถป้องกันและรักษาได้ก่อนที่เชื้อจะพัฒนาเป็นมะเร็งปากมดลูก)

 

0 0

2. ขั้นเตรียมการ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำโครงการตามแผน เพื่อเสนอพิจารณาเห็นชอบ/อนุมัติโครงการ ประชุมเจ้าหน้าที่และ อสม.หมู่ 1 และหมู่ 4 เพื่อชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน ประสานทีมงานและเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโดยอสม.หมู่ 1 และหมู่ 4 ประชาสัมพันธ์โครงการและค้นหากลุ่มเป้าหมาย เพื่อเข้ารับการอบรมและตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้จัดทำโครงการตามแผน เพื่อเสนอพิจารณาเห็นชอบ/อนุมัติโครงการ 2.เจ้าหน้าที่และ อสม. ได้ทราบถึงขั้นตอนการทำโครงการ 3.เตรียมกลุ่มเป้าหมายที่จะทำโครงการได้อย่างครบถ้วน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้สตรีไทยมีความรู้เรื่องการดูแลและเฝ้าระวังตนเองจากโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลและเฝ้าระวังตนเองจากโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกได้
34.42 40.00

 

2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-70ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องได้
34.42 40.00

 

3 เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
16.04 20.00

 

4 เพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้น ส่งต่อ เพื่อการรักษาได้ทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของสตรีกลุ่มเสี่ยงที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 249
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อสม. หมู่ที่ 1,4 ตำบลบ้านควน 49

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้สตรีไทยมีความรู้เรื่องการดูแลและเฝ้าระวังตนเองจากโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30-70ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (3) เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (4) เพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้น ส่งต่อ เพื่อการรักษาได้ทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) ติดตามประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสตรีไทยใส่ใจป้องกันภัยโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายภาณุวัตร แซ่หลู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด