กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการรวมพลคนรักสุขภาพ ชุมชนบ้านปลักธง ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายมนัส แก้วชนะ

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลคนรักสุขภาพ ชุมชนบ้านปลักธง

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7257-2-59 เลขที่ข้อตกลง 76/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 15 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลคนรักสุขภาพ ชุมชนบ้านปลักธง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลคนรักสุขภาพ ชุมชนบ้านปลักธง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลคนรักสุขภาพ ชุมชนบ้านปลักธง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7257-2-59 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,814.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายด้วยการเดิน เป็นการเคลื่อนไหวอวัยวะร่างกาย ช่วยกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อมัดเล็ก ข้อต่อต่างๆ ตลอดจนกล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายได้ทำงาน ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่าจะเป็นท่าทางแบบไหน เช่น เดินเร็ว เดินช้า เดินสม่ำเสมอ ซึ่งเรียกได้ว่าทุกๆรูปแบบของการออกกำลังกายด้วยท่าทางต่างๆ ล้วนมีประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นส่วนต่างของรางกาย เรียกว่าการออกกำลังกายแทบทุกส่วน ที่สำคัญยังมีการศึกษาวิจัย การเดิน จะมีผลต่อสมอง คือ ทำให้สมองและร่างกายส่วนต่างๆได้พัฒนาไปด้วยกัน การเดินมีประโยชนืหลายอย่าง ดังนี้

ลดความเสี่ยงการเป็นโรคอัลไซเมอร์ จากงานวิจัยพบว่าคนที่เดินเกินวันละ 1 กิโลเมตร สามารถช่วยลดความเสี่ยงได้ครึ่งหนึ่งของการเป็นโรคอัลไซเมอร์เพิ่มกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อ ขา สะโพก ฝึกให้หัวใจแข็งแรง ลดความดันโลหิต คนที่หัวใจไม่ค่อยแข็งแรง ต้องเดินบ่อยๆ เพื่อให้หัวใจแข็งแรงขึ้น การเดินทุกวันสามารถลดความเสี่ยงโรค ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดหัวใจได้ช่วยลำไส้ใหญ่แข็งแรง การเดินสามารถลดโอกาสที่ผู้หญิงจะเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ 31% หากเดินวันละ 10-15 นาที จะช่วยในเรื่องระบบการย่อยอาหาร และการขับถ่ายช่วยให้อารมณ์ดี เวลาที่เรามีอารมณ์ไม่ดี ลองไปเดินเล่นบ้าง การเดินวันละ 30-45 นาที อาทิตย์ละ 4-5 วัน สามารถช่วยให้สดชื่นได้รักษารูปร่างของเรา เพียงแค่เดินวันละ 1 ชั่วโมง ก็รักษารูปร่างของเราได้ลดความเสี่ยงของโรคเบาหวาน สามารถลดน้ำตาลในเลือดได้ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมงเสริมสร้างกระดูกและข้อต่อ ลดความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุนลงได้ 30% เลยนะเพิ่มความสามารถการทำงานของปอดและหัวใจ เวลาเดินอัตราหายใจของคุณจะเพิ่มขึ้น ทำให้ออกซิเจนผ่านกระแสเลือดได้เร็วขึ้น ช่วยกำจัดของเสีย ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของปอด และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอได้อย่างรวดเร็ว

ดังนั้น ชุมชนบ้านปลักธง จึงได้จัดทำโครงการเดิน เพื่อสุขภาพในชุมชน เพื่อสร้างความแข็งแรง ทั้งสุขภาพกายและสุภาพจิตใจให้กับประชาชนชุมชนบ้านปลักธง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีค่า BMI ตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
  4. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายที่แข้งแรงเพิ่มขึ้น
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพจิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีค่า BMI ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีค่า BMI และรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดี (ตามแบบประเมินความสุขคนไทย ของกรมสุขภาพจิต)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีค่า BMI ตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย (4) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลคนรักสุขภาพ ชุมชนบ้านปลักธง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7257-2-59

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมนัส แก้วชนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด