กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ


“ โครงการให้ความรู้พัฒนาการเฝ้าระวัง ป้องกัน การทำร้ายตนเอง ”

ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์ มากเพ็ง

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้พัฒนาการเฝ้าระวัง ป้องกัน การทำร้ายตนเอง

ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-50117-01-009 เลขที่ข้อตกลง /2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้พัฒนาการเฝ้าระวัง ป้องกัน การทำร้ายตนเอง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้พัฒนาการเฝ้าระวัง ป้องกัน การทำร้ายตนเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้พัฒนาการเฝ้าระวัง ป้องกัน การทำร้ายตนเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-50117-01-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถาณการณ์แนวโน้มฆ่าตัวตายของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นและลดลงตามสถานการณ์ และภาวะต่างๆส่งผลให้ประชาชนเกิดความเครียด วิตกกังวล เกิดปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเพิ่มขึ้น และส่งผลให้เกิดสถานการณ์ ทำร้ายตนเอง ปัญหาการฆ่าตัวตายตามมา โดยสถาณการณ์ฆ่าตัวตายในประเทศไทยในปี ๒๕๖๔ – ๒๕๖๖ (ต.ค.๒๕๖๕ - มี.ค.๒๕๖๖) จำนวนผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จ ๗.๓๘, ๗.๐๙ และ๗.๙๗ ตามลำดับอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากเหตุปัจจัยของการฆ่าตัวตายมีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงเป็นพลวัตรตามห้วงเวลา จากการติดตามวิเคราะห์ข้อมูลและสังเกตการณ์ฆ่าตัวตายในคนไทยพบว่าการฆ่าตัวตายในแต่ละบุคคลแต่ละครั้ง จะเกิดขึ้นเมื่อครบ ๕ เงื่อนไขสำคัญ ได้แก่ ๑.บุคคลนั้นต้องมีปัจจัยเสี่ยง(Risk factors) ที่โน้มนำให้ฆ่าตัวตายได้มากกว่าคนทั่วไป ๒. มีสิ่งกระตุ้น(Tirgger)หรือปัจจัยกระตุ้น(Preciptating factors)ให้คิดและกระทำการฆ่าตัวตาย ๓.เข้าถึงอุปกรณ์และสถานที่ที่ใช้ฆ่าตัวตายได้ง่าย ๔.การเฝ้าระวังป้องกันล้มเหลว ๕.บุคคลนั้นมีปัจจัยปกป้อง (Protective factors)ที่อ่อนแอ พิจารณาข้อมูลผู้ป่วยฆ่าตัวตายสำเร็จ จากรายงาน 43 แฟ้ม HDCของโรงพยาบาลทุกแห่งศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขโปรแกรมเฝ้าระวังผู้พยายามทำร้ายตนเอง (กรณีเสียชีวิต) รง.๕๐๖ S.กรมสุขภาพจิต ข้อมูลณวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๖ สถานการณ์ การฆ่าตัวตายสำเร็จของประชากรอำเภอนาโยงงบประมาณ 2566 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปีงบประมาณ 2564, 2565 และ 2566 ตามลำดับเท่ากับ 13.59, 6.71 และ 17.93 ต่อแสนประชากร อำเภอนาโยง วิเคราะห์ข้อมูล รง.506 S. และการสอบสวนโรคกำหนดกลุ่มเสี่ยงที่ต้องติดตามเฝ้าระวังและได้ตระหนักถึงความสำคัญให้มีการพัฒนาระบบเฝ้าระวังป้องกันการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยงและผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่ให้กระทำซ้ำ การติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง คัดกรองปัญหาสุขภาพจิตให้ได้รับการดูแล วินิจฉัยโรคและบำบัดรักษาตามมาตรฐาน การบริการสุขภาพจิตและจิตเวช จึงต้องดำเนินการด้านเชิงรุกในชุมชนเฝ้าระวัง บริการโรคซึมเศร้า โรงพยาบาลนาโยงจึงได้ทำโครงการให้ความรู้โรคซึมเศร้า สัญญาณเตือนเสี่ยงฆ่าตัวตายกับประชาชน ดูแลช่วยเหลือเบื้องต้น การแจ้งเหตุ การติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่ให้เข้าถึงบริการและได้รับการรักษาต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้
  2. จัดอบให้ความรุ้อาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับสถานการณ์โรคซึมเศร้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.บุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า 2.บุคลากรมีทักษะด้านการประเมินและการส่งต่อผู้ป่วยซึมเศร้าได้
3.บุคลากรสามารถส่งเสริมสุขภาวะและคัดกรองโรคซึมเศร้าเบื้องต้นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ (2) จัดอบให้ความรุ้อาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับสถานการณ์โรคซึมเศร้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการให้ความรู้พัฒนาการเฝ้าระวัง ป้องกัน การทำร้ายตนเอง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-50117-01-009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัยณรงค์ มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด