กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ


“ โครงการเด็กตาแกะโภชนาการดี ลดซีดลดเสี่ยง สู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางแวมารีนี มะแซ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กตาแกะโภชนาการดี ลดซีดลดเสี่ยง สู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3042-01-10 เลขที่ข้อตกลง 67-L3042-01-10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กตาแกะโภชนาการดี ลดซีดลดเสี่ยง สู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตาแกะโภชนาการดี ลดซีดลดเสี่ยง สู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กตาแกะโภชนาการดี ลดซีดลดเสี่ยง สู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3042-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรสำคัญที่จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติในอนาคต การจะทำให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย มีความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ ปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องได้รับการเกื้อหนุน ส่งเสริม จากหลายๆ ปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยสภาพแวดล้อม ระบบบริการ และปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งคือตัวมารดาเอง ในปี 2566 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแกะ พบเด็กมีปัญหาโภชนาการ อ้วนและเริ่มอ้วนร้อยละ 4.26 และ ผอมร้อยละ 12.77 ภาวะซีดในเด็กช่วงอายุ 6-12 เดือน ร้อยละ 35 และพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 37.01 เรื่องโภชนาการ เป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนต้องให้ความตระหนัก ต้องให้ความสำคัญ เพราะเป็นปัจจัยหลักที่จะนำไปสู่ภาวะซีดในเด็กช่วงอายุ 6-12 เดือน และต่อเนื่องไปในเรื่องของพัฒนาการเด็ก โดยเฉพาะผู้ปกครองซึ่งเป็นผู้ดูแล ควรมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการและการ ส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่สามารถทำอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กรับประทาน และสามารถส่งเสริมให้บุตรมีพัฒนาการตามวัยได้ ผู้ปกครองจึงต้องมีการสร้างนิสัยในการบริโภคอาหารที่ถูกต้องให้กับเด็ก ตั้งแต่เด็กๆ เพื่อฝึกนิสัยการรับประทานอาหารที่ถูกต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็ก เป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ เพื่อให้เด็กมีสุขภาวะ ทั้งทางกาย ใจ สังคม และปัญญา โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ปัญหาในการดำเนินส่งเสริมสุขภาพเด็ก พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการภาวะซีดในเด็ก 6-12 เดือน และพัฒนาการที่สงสัยล่าช้า ซึ่งอาจส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการส่งเสริมโภชนากการและพัฒนาการเด็กในสถานพยาบาล และการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
  จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแกะ จึงได้จัดทำโครงการเด็กตาแกะโภชนาการดี ลดซีดลดเสี่ยง สู่พัฒนาการสมวัย ปีงบ 2567 ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้ปกครอง และชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็กและพัฒนาการเด็กที่สมวัย
  2. 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
  3. 3.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะซีดในเด็ก6-12 เดือน ในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะซีด
  4. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการเด็กใน 5 กลุ่มอายุ (9 เดือน,18เดือน,30เดือน,42เดือน,60เดือน)ในตำบลตาแกะ ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมหารือสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับเครือข่ายชุมชน เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ ภาวะซีด และพัฒนาการในเด็ก 0-5ปี
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก การส่งเสริมและการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย จำนวน 100 คน
  3. ประชุมเครือข่ายชุมชนในตำบล่ตาแกะ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ลการดำเนินงาน จำนวน 30 คน
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  5. สรุปและติดตามผลการดำเนินงาน
  6. อสม.ชั่งน้ำหนักเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน/ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน (3 ครั้ง)
  7. ประชุมหารือสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับเครือข่ายชุมชน ก่อนดำเนินโครงการ
  8. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  9. อบรมเชิงปฏิบัติการพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก การส่งเสริมและการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย จำนวน 100 คน
  10. อสม.ชั่งน้ำหนักเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน/ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน (3 ครั้ง)
  11. ประชุมเครือข่ายชุมชน เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก และพัฒนาการเด็กที่สมวัย 2.เครือข่ายมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง และจัดการปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก และพัฒนาการเด็กสงสัยล่าช้า ในชุมชนร่วมกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็กและพัฒนาการเด็กที่สมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ในตำบลตาแกะมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก และพัฒนาการเด็กที่สมวัย
60.00

 

2 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ในเด็ก 0-5 ปี ในตำบลตามีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน
50.00

 

3 3.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะซีดในเด็ก6-12 เดือน ในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะซีด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ในเด็ก 6-12 เดือน ในตำบลตาแกะ ไม่มีภาวะซีด (ค่า Hb > 11 mg/db)
90.00

 

4 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการเด็กใน 5 กลุ่มอายุ (9 เดือน,18เดือน,30เดือน,42เดือน,60เดือน)ในตำบลตาแกะ ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ในเด็ก 5 กลุ่มอายุ (9 เดือน ,18 เดือน , 30 เดือน , 42 เดือน , 60 เดือน) ในตำบลตาแกะ มีพัฒนาการที่สมวัย
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะเกี่ยวกับโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็กและพัฒนาการเด็กที่สมวัย (2) 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5ปีในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (3) 3.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะซีดในเด็ก6-12 เดือน ในตำบลตาแกะ ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะซีด (4) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการเด็กใน 5 กลุ่มอายุ (9 เดือน,18เดือน,30เดือน,42เดือน,60เดือน)ในตำบลตาแกะ ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมหารือสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับเครือข่ายชุมชน เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ ภาวะซีด และพัฒนาการในเด็ก 0-5ปี (2) อบรมเชิงปฏิบัติการพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก การส่งเสริมและการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย จำนวน 100 คน (3) ประชุมเครือข่ายชุมชนในตำบล่ตาแกะ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ลการดำเนินงาน จำนวน 30 คน (4) ประชาสัมพันธ์โครงการ (5) สรุปและติดตามผลการดำเนินงาน (6) อสม.ชั่งน้ำหนักเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน/ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน (3 ครั้ง) (7) ประชุมหารือสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับเครือข่ายชุมชน ก่อนดำเนินโครงการ (8) ประชาสัมพันธ์โครงการ (9) อบรมเชิงปฏิบัติการพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการเด็ก ภาวะซีดในเด็ก การส่งเสริมและการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย จำนวน 100 คน (10) อสม.ชั่งน้ำหนักเด็กในกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน/ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน (3 ครั้ง) (11) ประชุมเครือข่ายชุมชน เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กตาแกะโภชนาการดี ลดซีดลดเสี่ยง สู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3042-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางแวมารีนี มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด