กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง


“ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพและศาสนาสร้างสุขภาพ บ้านมาปะ ตำบลระแว้งอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2567 " ”

ม.3 ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายซาการียา ดุลซามะ

ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพและศาสนาสร้างสุขภาพ บ้านมาปะ ตำบลระแว้งอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2567 "

ที่อยู่ ม.3 ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3033 -02 -04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพและศาสนาสร้างสุขภาพ บ้านมาปะ ตำบลระแว้งอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2567 " จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.3 ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพและศาสนาสร้างสุขภาพ บ้านมาปะ ตำบลระแว้งอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2567 "



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพและศาสนาสร้างสุขภาพ บ้านมาปะ ตำบลระแว้งอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2567 " " ดำเนินการในพื้นที่ ม.3 ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3033 -02 -04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายเร่งจัดระบบการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ให้ทัดเทียมกับพื้นที่อื่นๆ โดยใช้ศาสนานำการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชาชนเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมัสยิดเป็นศูนย์รวมด้านวิถีชีวิตของมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้ มัสยิดเป็นศูนย์รวมของวิถีชีวิตของประชาชนในชุมชน
มุสลิมจะมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับมัสยิดจนกระทั่งช่วงสุดท้ายของชีวิตบทบาทของมัสยิดนอกจากจะเป็นสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจตามที่คนทั่วไปเข้าใจแล้ว มัสยิดยังเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน เป็นศาลสถิตยุติธรรมเพื่อพิจารณาไกล่เกลี่ยคดีความชั้นต้นในชุมชน เป็นสถานที่ประชุมปรึกษาปัญหาและทางออกในเรื่องราวด้านต่างๆ ของชุมชน การจัดกิจกรรมงานบุญงานกุศลทั้งการเริ่มต้นชีวิตครอบครัวคือการแต่งงาน กิจกรรมในวิถีชุมชนต่างๆ ตลอดจนเมื่อถึงสุดท้ายของชีวิตสถานที่แห่งนี้จะเป็นที่สุดท้ายที่เขา (ศพ) จะได้รับการละหมาดขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าก่อนที่ร่างจะถูกฝังในกูโบ (สุสาน) ที่อยู่ใกล้ๆกับมัสยิด บทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งของมัสยิด คือการบริการการศึกษาแก่สมาชิกในชุมชนทั้งระดับพื้นฐานและวิทยาการอิสลามขั้นสูง และการจัดการเผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ทัศนะอิสลาม วิชาความรู้ที่ดีงามเป็นประโยชน์ให้กับส่วนบุคคล ครอบครัว และการพัฒนาสังคมเป็นสิ่งจำเป็นที่มุสลิมทุกคนต้องไขว่คว้าและเรียนรู้ มัสยิดจึงเป็นสถานที่ส่งเสริมสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณของประชาชนในชุมชน
อิสลามได้กำหนดให้ผู้ที่จะปฏิบัติศาสนกิจนั้นต้องทำการชำระร่างกายให้สะอาด และจำเป็นที่จะต้องชำระมลทินทั้งสองอย่างคือทั้งภายนอกและภายในให้หมดไปมิฉะนั้นการปฏิบัติศาสนกิจของเราก็จะใช้ไม่ได้ ดังคำสอนที่ท่านศาสดามุฮัมมัด ทรางกล่าวไว้ว่า “ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา” องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะทำให้การปฏิบัติศาสนกิจที่สมบูรณ์ก็คือการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ปฏิบัติศาสนกิจได้มีน้ำใช้ที่สะอาด มีการจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลถูกหลักสุขาภิบาลที่ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนหรือทำความสกปรกแก่ผู้ปฏิบัติศาสนกิจ ในการแก้ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมซึ่งจะสามารถแก้ปัญหาสุขภาพของชุมชนได้ระดับหนึ่ง ดังนั้นทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร่วมกับแกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา คณะกรรมการมัสยิด และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระแว้ง ได้วิเคราะห์ปัญหาและจัดทำโครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพและศาสนาสร้างสุขภาพตำบลระแว้ง เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาของชุมชนโดยให้ประชาชน แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา และ อสม. มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อประชาชนเป็นเจ้าของสุขภาพอย่างแท้จริง โดยให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของมุสลิม โดยใช้หลักศาสนา เพราะการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม ขึ้นอยู่กับปฏิบัติตนของประชาชน ดังนั้นการปลูกฝังจิตสำนึกผ่านสถานที่ที่สำคัญให้ประชาชนได้ร่วมดูแลรักษาซึ่งตรงกับคำสอนของอิสลามที่ท่านศาสดามุฮัมมัด ทรงกล่าวว่า “ผู้ใดผูกพันอยู่กับมัสยิด อัลเลาะห์ ศุบหฯ จะทรงผูกพันอยู่กับเขา” ตำบลระแว้งได้จัดทำโครงการดังกล่าวนี้ขึ้นเพื่อพัฒนามัสยิดให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมวิถีชีวิตมุสลิมให้สอดคล้องกับบทบัญญัติอิสลาม เรื่อง สุขภาพ ความสะอาด การศรัทธา การมีส่วนร่วม นำไปสู่การพัฒนาชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1เพื่อพัฒนาให้มัสยิดเป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ 2.2 เพื่อส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพ โดยเครือข่ายสุขภาพในชุมชน 2.3 เพื่อสร้างระบบการดูแลความสะอาดอย่างยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. บรรยายให้ความรู้เรื่องเกณฑ์ มัสยิดส่งเสริมสุขภาพ 2. ให้ความรู้เรื่องโรคที่พบบ่อย และการเฝ้าระวังโรคที่ส่งผลต่อสุขภาพ 3. ตรวจสุขภาพผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ประชาชน ในพื้นที่ จำนวน 50 คน 4. กิจกรรมตรวจประเมินมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ 5. กิจกรรม Big Cleaning day

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการส่งเสริมสุขภาพ เน้นสภาพแวดล้อมที่ถูกสุลักษณะ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1เพื่อพัฒนาให้มัสยิดเป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ 2.2 เพื่อส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพ โดยเครือข่ายสุขภาพในชุมชน 2.3 เพื่อสร้างระบบการดูแลความสะอาดอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : มัสยิดผ่านเกณฑ์การประเมิน มัสยิด ส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100 มีการคัดแยกขยะ ที่ถูกต้อง ร้อยละ80 ประชาชนมีการออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1เพื่อพัฒนาให้มัสยิดเป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ 2.2 เพื่อส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพ โดยเครือข่ายสุขภาพในชุมชน 2.3 เพื่อสร้างระบบการดูแลความสะอาดอย่างยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. บรรยายให้ความรู้เรื่องเกณฑ์ มัสยิดส่งเสริมสุขภาพ 2. ให้ความรู้เรื่องโรคที่พบบ่อย และการเฝ้าระวังโรคที่ส่งผลต่อสุขภาพ 3. ตรวจสุขภาพผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ประชาชน ในพื้นที่ จำนวน 50 คน 4. กิจกรรมตรวจประเมินมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ 5. กิจกรรม Big Cleaning day

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพและศาสนาสร้างสุขภาพ บ้านมาปะ ตำบลระแว้งอำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2567 " จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3033 -02 -04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซาการียา ดุลซามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด