กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวดาริยา ขุนจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-05-06 เลขที่ข้อตกลง 05/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-05-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,117.63 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือกออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหนะนำเชื้อสู่คน โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย ซึม อาจจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน และตับโต ร่วมด้วยในผู้ป่วยบางรายอาจมีอการรุนแรงถึงกับมีเลือดออกในอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย ทำให้ช็อคและเสียชีวิตได้ ซึ่งโรคไข้เลือดออกนี้สามารถเป็นได้ในทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะในกลุ่มอายุ 2-10 ปี โดยพบว่ามีการระบาดได้เกือบตลอดทั่งปีเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาลแต่มักจะมีการระบาดรุนแรงในช่วงฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน - สิงหาคม ของทุกปี จากข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข โรคไข้เลือดออกเป็นโรคประจำถิ่นที่ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมากปัญหาหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากมีการป่วยหรือเสียชีวิตจากโรคดังกล่าวเป็นจำนวนมาก จากข้อมูลทางระบาดวิทยาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส พบว่า ตั้งแต่เดือนมกราคม 2566 - ตุลาคม 2566 พบว่ามีผู้ป่วยไข้เลือดออกตามแพทย์วินิจฉัย จำนวนทั้งสิ้น 68 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 338.14 จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า ในช่วง 2 ปีหลัง ช่วงปี 2565 -2566 อัตราผู้ป่วยเพิ่มขึ้น คืออัตราป่วยต้องไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกยังคงต้องมีการป้องกันและควบคุมอย่างต่อเนื่อง จึงต้องมีการเตรียมการเฝ้าระวังและควบคุมโรคอย่างเข้มข้น โดยใช้มาตรการที่หลากหลาย ได้แก่ การกำจัดพาหนะนำโรคไม่ว่าจะเป็นการทำลายภาชนะที่มีน้ำขัง การใส่ทรายกำจัดลูกน้ำ หรือการพ่นหมอดควัน ปรับปรุงสภาพแวดล้อม และป้องกันไม่ให้ยุงกัด จึงจำเป็นต้องมีการเริ่มดำเนินการให้รวดเร็ว ให้ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรค ซึ่งการควบคุมโรคนั้น จำเป็นจะต้องทำอย่างต่อเนื่อง และอาศัยการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่ายทั้งภาครัฐ และประชาชน จึงจะควบคุมโรคได้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปาเสมัส เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จะเห็นได้ว่ามีอัตราการป่วยจำนวนหลายรายในแต่ละปี เมื่อเทียบดูจากสถติการเกิดโรค การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากมักพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมิถุนายน -สิงหาคม ของทุกปีในพื้นที่ตำบลปาเสมัส จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนและศาสนสถาน ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออก เทศบาลตำบลปาเสมัสจึงได้จัดโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็ว เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
  2. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน /ศดม./ศพด. และศาสนสถาน
  2. ดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก และโดยรอบรัศมี 100 เมตร ร่วมกับสาธารณสุขในพื้นที่ (50 หลังคาเรือน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 95
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 มีการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
2 อัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรคลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็ว เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 95
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็ว เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน (2) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน /ศดม./ศพด. และศาสนสถาน (2) ดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก และโดยรอบรัศมี 100 เมตร ร่วมกับสาธารณสุขในพื้นที่ (50 หลังคาเรือน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-05-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวดาริยา ขุนจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด