กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน


“ โครงการหนูน้อย Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรมาร์ สาแลมะ

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อย Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L01-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อย Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อย Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อย Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L01-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทย มีประเด็นความท้าทายการพัฒนาในหลายมิติที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วรวมถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีสัดส่วนประชากรวัยเด็กและวัยทำงานลดลง ในขณะเดียวกันประชากรสูงอายุเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้กำหนดทิศทาง การพัฒนาในระยะยาว ที่จะมุ่งสู่วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และสามารถเปลี่ยนผ่านประเทศไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ใหม่ของโลกได้” จึงมีเป้าหมายสำคัญ คือ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต เพื่อการพัฒนาในทุกมิติและทุกช่วงวัย ให้เป็นคนดี คนเก่งและมีคุณภาพ โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นต้นน้ำของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม เพิ่มการกระจายรายได้ และพัฒนาการให้บริการทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง และขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 – 2570 คือ เด็กปฐมวัยทุกคน ต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน เต็มตามศักยภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมระดมทรัพยากรที่เพียงพอ ต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พร้อมส่งต่อพลเมืองคุณภาพของชาติ จังหวัดปัตตานี มีกรอบแนวคิดในการดำเนินงานในการดูแลเด็กปฐมวัย โดยมีนโยบาย smart kids เด็กปฐมวัยสุขภาวะดี ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านโภชนาการ ด้านพัฒนาการ ด้านวัคซีน ด้านทันตกรรม และภาวะซีด เพื่อเด็กปัตตานี สุขภาพดี ไอคิวดีที่ 104 ในปี 2570 การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว ชุมชน และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป   จากการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยในตำบลพิเทน ปีพ.ศ. 2565 - 2566 พบว่าเด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก 0-5 ปี พบว่า เด็กมีภาวะเตี้ยร้อยละ 25.18 , 34.81 ตามลำดับ และพบเด็กมีภาวะผอมร้อยละ 5.91 , 9.28 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และไม่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุข กำหนดไว้ว่าเด็กเตี้ยไม่เกินร้อยละ10 และผอมไม่เกินร้อยละ 5 ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด และในปี 2566 ได้มีการดำเนินงานคัดกรองซีด ในเด็ก 6-12 เดือน พบเด็กที่มีภาวะซีด ร้อยละ 31.58 ซึ่งเกินกว่าตกเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ไม่เกินร้อยละ 20 สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเด็กกินนมผสม แม่ซีดตอนตั้งครรภ์ และฐานะเศรษฐกิจทางครอบครัว ทำให้เด็กมีโภชนาการที่ไม่ดี ในส่วนของการดำเนินงานคัดกรองพัฒนาการ ปีพ.ศ. 2564 – 2566 พบเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 43.64 , 35.98 , 40.58 ตามลำดับ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 หลังจากได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครอง 30 วัน และได้รับการติดตามโดยเจ้าหน้าที่ พบว่าเด็กมีพัฒนาการที่สมวัยร้อยละ 81.48 , 85.59 , 79.04 ตามลำดับ ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่ร้อยละ 90 แนวโน้มลดลง ในส่วนของการดำเนินงานวัคซีนในพื้นที่ ปีพ.ศ. 2564 – 2566 พบว่าความครอบคลุมการได้รับวัคซีน อายุ 1 ปี อยู่ที่ร้อยละ 10 , 11.7 , 5.94 ตามลำดับ เกณฑ์ร้อยละ90 ยกเว้น วัคซีน MMR ร้อยละ 95 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน อายุ 2 ปี อยู่ที่ร้อยละ 22.12 , 10.09 , 3.16 ตามลำดับ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน อายุ 3 ปี อยู่ที่ร้อยละ 17.46 , 9.48 , 6.25 ตามลำดับ และความครอบคลุมการได้รับวัคซีน อายุ 5 ปี อยู่ที่ร้อยละ 6.2 , 7.32 , 7.81 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่าความครอบคลุมการได้รับวัคซีนภาพรวมมีแนวโน้มที่ลดต่ำลงทุกช่วงวัย และยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ90 ของทุกช่วงอายุ ยกเว้น วัคซีน MMR ช่วงอายุ 1 ปี เกณฑ์ร้อยละ 95 ในส่วนของการดำเนินงานตรวจทันตกรรม ในเด็กอายุ 3 ปี ในปีพ.ศ. 2564 – 2566 พบเด็กที่มีฟันผุอยู่ที่ร้อยละ 27.78 , 16.43 , 25.78 ตามลำดับ จากเป้าหมายที่ได้รับการตรวจฟันที่ร้อยละ 67.50 , 21.74 , 63.64 ตามลำดับ ซึ่งเกินเกณฑ์ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ว่าเด็กฟันผุต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของเด็กที่ได้รับการตรวจฟัน (ที่มาของข้อมูล ศูนย์ข้อมูลสุขภาพจังหวัดปัตตานี (HDC)) จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิเทน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้เหมาะสมตามวัย จึงได้จัดทำโครงการการหนูน้อย Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ นำร่องดำเนินการในเด็กที่อาศัยอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อประเมินและแก้ไขปัญหา สร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเด็กเป็นทรัพยากรสำคัญที่จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติในอนาคต การจะทำให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย มีความฉลากทางสติปัญญาและอารมณ์ปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็ก 2-4 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด มีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ไม่ซีด และฟันไม่ผุ Smart Kids 5 ด้าน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแล เด็ก 2-4 ปี 3. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 73
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็ก ๒-๔ ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด มีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสม
      ส่วน มีพัฒนาการสมวัยและฟันไม่ผุ Smart Kids 5 ด้าน
    2. ผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแล เด็ก ๒-๕ ปี
    3. เกิดความรัก ความสัมพันธ์ที่อบอุ่นระหว่างเด็กและผู้ปกครองครูและผู้ดูแลเด็ก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้เด็ก 2-4 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด มีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ไม่ซีด และฟันไม่ผุ Smart Kids 5 ด้าน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแล เด็ก 2-4 ปี 3. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 73
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 73
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็ก 2-4 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด มีภาวะโภชนาการส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ไม่ซีด และฟันไม่ผุ Smart Kids 5 ด้าน 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ครูและผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแล เด็ก 2-4 ปี 3. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อย Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L01-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนูรมาร์ สาแลมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด