กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารเดือนรอมฎอน ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 1) ”

ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางทรงสิริ มะนีวัน

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารเดือนรอมฎอน ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7884-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารเดือนรอมฎอน ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารเดือนรอมฎอน ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารเดือนรอมฎอน ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7884-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เดือนรอมฎอนเป็นเดือนแห่งความประเสริฐ ความดีงาม เดือนแห่งความอดทน เพื่อปฏิบัติตามวิถีมุสลิม ในการละเว้นการบริโภคอาหารเป็นระยะเวลา 1 เดือน และเป็นการยึดหลักความเสมอภาคกัน ทำให้วิถีชีวิต    ของชาวมุสลิมในการบริโภคที่ปรับเปลี่ยนไป โดยจะมีการบริโภคอาหารหลัก 2 เวลา คือ มื้อแรกก่อนรุ่งอรุณ และมื้อสองหลังพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าเพื่อดำเนินกิจกรรม ตามหลักศาสนา การเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารก่อนละศีลอด เพื่อให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงลดการเจ็บป่วย และด้วยสภาพสังคมปัจจุบันในเดือนถือศีลอดมีประชาชนและข้าราชการ ที่ทำงานในพื้นที่ (เขตเทศบาลเมืองปัตตานี) และอาศัยอยู่ต่างถิ่น ไม่มีเวลาที่จะประกอบอาหารเพื่อละศีลอดในช่วงเย็น ด้วยสภาพที่เร่งรีบ รวดเร็ว จึงจำเป็นที่จะต้องซื้ออาหารสำเร็จรูป      เพื่อละศีลอด ด้วยสภาพที่ต้องรีบกลับบ้าน อาจไม่คำนึงถึงความปลอดภัยของอาหารมากนัก เช่น ช่วงเวลาที่ผู้ประกอบการปรุง อาหารค้างมื้อ และด้านสุขอนามัยส่วนบุคคล ฯลฯ จึงทำให้อัตราการเกิดโรคติดเชื้อของระบบทางเดินอาหาร ซึ่งเกิดจากการรับประทานอาหารหรือน้ำที่ไม่สะอาด เป็นสาเหตุของอาหารเป็นพิษ ได้แก่ การติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และพยาธิ โดยการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ พบได้จากการรับประทานอาหารร่วมกัน การรับประทานอาหารดิบ และจากการรับประทานอาหารค้างมื้อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้สัมผัสอาหารจากรายงานโรคระบาดวิทยา (รง.506) จังหวัดปัตตานี พบว่ามีผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ (Food poisoning) ในปี 2564 จำนวน 93 ราย ในปี 2565 จำนวน 197 ราย และในปี 2566 จำนวน 234 ราย จากการดำเนินงานเฝ้าระวังการจำหน่ายอาหารปลอดภัยเดือนรอมฏอน ในปี 2566 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบบริเวณถนนปากน้ำ ถนนเจริญประดิษฐ์ ตำบลสะบารัง และบริเวณชุมชนวอกะห์เจ๊ะหะ ถนนยะรัง ตำบลจะบังติกอ พบผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารช่วงเดือนรอมฏอนประมาณ 190 ร้าน จากการประเมินคุณภาพ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามข้อกำหนด 12 ข้อ ผ่านเกณฑ์จำนวน 168 ร้าน และไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 22 ร้าน ส่วนใหญ่ไม่ผ่านการประเมิน ดังนี้ 1.ภาชนะใส่อาหารไม่มีการปกปิด 2.ใช้มือในการหยิบจับอาหาร ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการ    เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร เดือนรอมฎอน ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 เพื่อเป็นการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหาร      ที่ปลอดภัย อันส่งผลให้ประชาชน ได้บริโภคอาหารที่ปราศจากสารปนเปื้อนและสะอาดปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้อยละ 80 ผู้ประกอบการสามรถนำความรู้ไปปฏิบัติในการประกอบอาหารที่ ถูกสุขลักษณะ ส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับอาหารที่ปลอดภัย ตลอดจนเป็นไปตามหลักศาสนาอิสลาม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารเดือนรอมฎอน ในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L7884-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางทรงสิริ มะนีวัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด