โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสาอุดี เบญราซัค
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
พฤษภาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L7884-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7884-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 171,984.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักปฏิบัติอย่างหนึ่งของศาสนาอิสลาม คือ การเข้าสุนัตหรือคิตานหรือมาโซ๊ะยาวี (ภาษามลายู) เป็นพีธีกรรมอย่างหนึ่งที่มุสลิมทุกคนถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด การเข้าสู่พิธีสุนัตนิยมทำในวัยเด็ก เป็นการรักษาความสะอาดของร่างกาย ในสมัยก่อนชาวมุสลิมส่วนมากนิยมเข้าพิธีสุนัตกับหมอแผนโบราณหรือที่มุสลิมเรียกว่า "โต๊ะมูเด็ง" แต่ในปัจจุบันเพื่อความปลอดภัยจึงใช้แพทย์แผนปัจจุบันเป็นผู้ทำพิธีการเข้าสุนัตที่ประชาชนในพื้นที่ได้ถือปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องของชาวมุสลิม ซึ่งในตามหลักการของศาสนาอิสลามนัั้นได้กำหนดไว้ว่าเมื่อเด็กอายุประมาณ 7-15 ปี ผู้ปกครองต้องจัดทำพิธีเข้าสุนัตหรือคิตานหรือมาโซ๊ะยาวี การเข้าสุนัต คือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออกเพื่อให้สะดวกในการทำความสะอาด ซึ่งที่ปัสสาวะค้างอยู่ที่อวัยวะเพศเพศนั้นตามหลักการของศาสนาอิสลามถือว่าเป็นสิ่งสกปรก การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นแนวทางปฏิบัติที่ต้องกระทำเพื่อความสะอาด รวมทั้งช่วยป้องกันและลดปัญกาการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหลังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ HIV ได้ ร้อยละ 50-60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า Smegma หรือขี้เปียก หากมีหนังหุ้มไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อ รวมถึงมะเร็งที่องคชาติได้ (นพ.อนุพงศ์ ชิตวรากร) นอกจากนี้การขลิบหลังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบขะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารกก็จะลดโอกาศการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบก็จะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางสัมพันธ์ และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากบริบทพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่าการขลิบหลังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือ "ทำสุนัต" (ภาษามลายู) มักทำกับหมอบ้านหรือ "โต๊ะมูเด็ง" จากความเชื่อและประเพณีของชุมชน โดยผู้ปกครองเด็กเชื่อว่าการทำกับแพทย์จะทำให้อวัยวะเพศไม่เเข็งแรง การทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่าการทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาก ทำให้เกิดภาวะช็อคหรือการติดเชื้อ เช่นติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อ HIV จากการใช้เครื่องร่วมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี งานศูนย์บริการสาธารณสุขกะลาพอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญชองการขลิบหลังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือการเข้าสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยทีมบุคคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลปัตตานี ที่มีความรู้ทักษะด้านการการขลิบหลังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพยิ่งขึ้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน งานบริการสาธารณสุขกะลาพอ กองสาธารณสุขปละสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นต่อการจัดการแก้ไขปัญหาสภาวะสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชนชาย จึงได้จัดทำโครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดต่อ 2. เพื่อบริการทำขลิบหนังอวัยวะเพศชาย แก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะเลือดออก 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชน และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- เด็กและเยาวชนได้รับการทำสุนัต (ชลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดความเสี่ยงเลือดออกและภาวะแทรกซ้อนของการติดเชื้อ
- เด็กและเยาวชนในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ได้รับการบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดต่อ 2. เพื่อบริการทำขลิบหนังอวัยวะเพศชาย แก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะเลือดออก 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกัน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 ของเด็กและเยาวชน เข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค
2. ร้อยละ 90 ของเด็กและเยาวชน สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะเลืดออกมาก
3. ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมและป้องกัน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดต่อ 2. เพื่อบริการทำขลิบหนังอวัยวะเพศชาย แก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะเลือดออก 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L7884-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสาอุดี เบญราซัค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสาอุดี เบญราซัค
พฤษภาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L7884-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7884-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 171,984.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักปฏิบัติอย่างหนึ่งของศาสนาอิสลาม คือ การเข้าสุนัตหรือคิตานหรือมาโซ๊ะยาวี (ภาษามลายู) เป็นพีธีกรรมอย่างหนึ่งที่มุสลิมทุกคนถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด การเข้าสู่พิธีสุนัตนิยมทำในวัยเด็ก เป็นการรักษาความสะอาดของร่างกาย ในสมัยก่อนชาวมุสลิมส่วนมากนิยมเข้าพิธีสุนัตกับหมอแผนโบราณหรือที่มุสลิมเรียกว่า "โต๊ะมูเด็ง" แต่ในปัจจุบันเพื่อความปลอดภัยจึงใช้แพทย์แผนปัจจุบันเป็นผู้ทำพิธีการเข้าสุนัตที่ประชาชนในพื้นที่ได้ถือปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องของชาวมุสลิม ซึ่งในตามหลักการของศาสนาอิสลามนัั้นได้กำหนดไว้ว่าเมื่อเด็กอายุประมาณ 7-15 ปี ผู้ปกครองต้องจัดทำพิธีเข้าสุนัตหรือคิตานหรือมาโซ๊ะยาวี การเข้าสุนัต คือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออกเพื่อให้สะดวกในการทำความสะอาด ซึ่งที่ปัสสาวะค้างอยู่ที่อวัยวะเพศเพศนั้นตามหลักการของศาสนาอิสลามถือว่าเป็นสิ่งสกปรก การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นแนวทางปฏิบัติที่ต้องกระทำเพื่อความสะอาด รวมทั้งช่วยป้องกันและลดปัญกาการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหลังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ HIV ได้ ร้อยละ 50-60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า Smegma หรือขี้เปียก หากมีหนังหุ้มไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อ รวมถึงมะเร็งที่องคชาติได้ (นพ.อนุพงศ์ ชิตวรากร) นอกจากนี้การขลิบหลังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบขะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารกก็จะลดโอกาศการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบก็จะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางสัมพันธ์ และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากบริบทพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่าการขลิบหลังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือ "ทำสุนัต" (ภาษามลายู) มักทำกับหมอบ้านหรือ "โต๊ะมูเด็ง" จากความเชื่อและประเพณีของชุมชน โดยผู้ปกครองเด็กเชื่อว่าการทำกับแพทย์จะทำให้อวัยวะเพศไม่เเข็งแรง การทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่าการทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาก ทำให้เกิดภาวะช็อคหรือการติดเชื้อ เช่นติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อ HIV จากการใช้เครื่องร่วมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี งานศูนย์บริการสาธารณสุขกะลาพอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญชองการขลิบหลังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือการเข้าสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยทีมบุคคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลปัตตานี ที่มีความรู้ทักษะด้านการการขลิบหลังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพยิ่งขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน งานบริการสาธารณสุขกะลาพอ กองสาธารณสุขปละสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นต่อการจัดการแก้ไขปัญหาสภาวะสุขภาพในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชนชาย จึงได้จัดทำโครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดต่อ 2. เพื่อบริการทำขลิบหนังอวัยวะเพศชาย แก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะเลือดออก 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชน และผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
- เด็กและเยาวชนได้รับการทำสุนัต (ชลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดความเสี่ยงเลือดออกและภาวะแทรกซ้อนของการติดเชื้อ
- เด็กและเยาวชนในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ได้รับการบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดต่อ 2. เพื่อบริการทำขลิบหนังอวัยวะเพศชาย แก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะเลือดออก 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกัน ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 ของเด็กและเยาวชน เข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค 2. ร้อยละ 90 ของเด็กและเยาวชน สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะเลืดออกมาก 3. ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมและป้องกัน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดต่อ 2. เพื่อบริการทำขลิบหนังอวัยวะเพศชาย แก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานีเพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะเลือดออก 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสุนัต (ขลิบ) เยาวชนเทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อสุขภาพ ปลอดภัย ห่างไกลโรค ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L7884-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสาอุดี เบญราซัค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......