โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า ”
ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายยก ช่วยอินทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า
ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3321-3-01 เลขที่ข้อตกลง 4/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3321-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีทักษะในการชะลอความเสื่อมของร่างกายและสมอง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิด อารมณ์เป็นสุข สร้างคุณค่าในตนเอง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะควบคุมอารมณ์ จัดการอารมณ์ ของตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ (สุขสบาย สุขสง่า สุขสนุก สุขสงบ สุขสว่าง)
- กิจกรรมการให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
42
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ระดับบุคคลผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและจิตดีขึ้นตามอัตภาพการฆ่าตัวตายลดลงผู้ป่วยซึมเศร้าเข้าถึงการบริการ
2.ระดับชุมชนเกิดศูนย์การเรียนรู้
- เป็นเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุที่มั่นคงโดยชุมชนมีส่วนร่วม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมการให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
.ด้านสุขสบาย ซึ่งดำเนินกิจกรรมดังนี้
1 .ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
2 ฝึกความอ่อนตัว โยคะบำบัด
3. ฝึกความว่องไวและการทรงตัว balance)
4. การวัดดัชนีมวลกาย (BMI) และวัดพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ
ด้านที่ 2 : สุขสนุก (Recreation)
ซึ่งจัดกิจกรรม ซึ่งทางชมรมผู้สูงอายุ เน้นไปที่การจัดกิจกรรมนันทนาการ ที่สร้างความสดชื่น สร้างพลัง ความมีชีวิตชีวาอย่าง สร้างสรรค์และดีงามในรูปแบบของการทำกิจกรรม เช่น กิจกรรมดนตรีบำบัด
ด้านที่ 3 : สุขสง่า (Integrity)
กิจกรรม จะเน้นไปที่กิจกรรมที่ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ และตระหนักถึงความมีคุณค่าในตนเอง การมีพฤติกรรมช่วยเหลือผู้อื่นในสังคมและเกิดมุมมองต่อการใช้ชีวิตในเชิงบวก ซึ่งทางชมรมได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการดังนี้
3.1 การช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆของชุมชน
3.2 การมีจิตอาสา และให้การช่วยเหลือผู้อื่น
3.3 การช่วยเหลือคนในครอบครัว
ด้านที่ 4 : สุขสว่าง (Cognition)
ซึ่งทางชมรมผู้สูงอายุ ได้มีกิจกรรมที่ช่วยในการชะลอความเสื่อมทางสมอง เพิ่มไหวพริบ ความจำ การมี สติการคิดอย่างมีเหตุผล และจัดการกับสิ่งต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
1. การฝึกความจำ ฝึกกิจกรรมการทบทวนความจำทุกครั้ง
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา (problem solving) ด้วยหลักเกณฑ์ที่มีเหตุผล
3. ฝึกทักษะความสามารถในเชิงภาษา การติดต่อสื่อสารด้วยคำ พูดและวาจา
4. มีความสามารถทางสังคม มีความสนใจผู้อื่น และสามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ต่อกันอย่างมี ประสิทธิภาพ
5. ใส่ใจเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ
6. การนำความรู้และประสบการณ์ที่สั่งสมในอดีต มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่นและต่อชุมชน
ด้านที่ 5 : สุขสงบ (Peacefulness)
กิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ จะเน้นไปที่ความสามารถของบุคคลในด้าน
1. การรู้อารมณ์ตน หมายถึง ตระหนักรู้ตนเอง สามารถรับรู้และเข้าใจความรู้สึก ความคิด และ อารมณ์ของตนตามความเป็นจริง
2. ฝึกการควบคุมอารมณ์หมายถึงความสามารถในการจัดการกับอารมณ์ตนเองได้อย่างเหมาะสม ตามสถานการณ์เพื่อไม่ให้เกิดความเครียดสามารถคลายเครียดสลัดความวิตกจริตรุนแรงได้ อย่างรวดเร็ว ไม่ฉุนเฉียวง่าย ทำ ให้อารมณ์ขุ่นมัวหายไปโดยเร็ว
3. การยอมรับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงหมายถึงความสามารถในการยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น และสามารถเผชิญกับความจริงในชีวิตได้มีความเข้าใจในธรรมชาติของชีวิตว่าต้องมีสุข-ทุกข์ สมหวัง-ผิดหวัง สำเร็จ-ล้มเหลว ได้มา-เสียไป เป็นต้น ไม่ยึดมั่นกับสิ่งใดมากเกินไป สามารถ มองสิ่งต่าง ๆ ทั้งในด้านที่เป็นความสุขและความทุกข์ในชีวิต ยอมรับและกล้าที่จะเผชิญกับ ปัญหาหรืออุปสรรคต่าง ๆ ด้วยจิตใจที่มั่นคง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมสร้างสุข 5 มิติ ครบ 16 สัปดาห์
ผลลัพธ์
- มีกิจกรรมสร้างสุข ครบทั้ง 5 สุขมิติ (สุขสบาย สุขสง่า สุขสนุก สุขสงบ สุขสว่าง)
-ผู้สูงอายุ มีการดูแลสุขภาพจิตตนเองดีขึ้นคัดกรองแล้วไมพบโรคซึมเศร้า
(จากแบบประเมินความสุข)
42
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีทักษะในการชะลอความเสื่อมของร่างกายและสมอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลตนเองทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
90.00
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิด อารมณ์เป็นสุข สร้างคุณค่าในตนเอง
ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมสร้างสุข 5 มิติครบทั้ง 5 สุข (สุขสบาย สุขสง่า สุขสนุก สุขสงบ สุขสว่าง)
0.00
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะควบคุมอารมณ์ จัดการอารมณ์ ของตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ มีการดูแลสุขภาพจิตตนเองดีขึ้นคัดกรองแล้วไมพบโรคซึมเศร้า
(จากแบบประเมินความสุข)
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
42
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
42
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีทักษะในการชะลอความเสื่อมของร่างกายและสมอง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิด อารมณ์เป็นสุข สร้างคุณค่าในตนเอง (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะควบคุมอารมณ์ จัดการอารมณ์ ของตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) (2) การให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ (สุขสบาย สุขสง่า สุขสนุก สุขสงบ สุขสว่าง) (3) กิจกรรมการให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3321-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายยก ช่วยอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า ”
ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายยก ช่วยอินทร์
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3321-3-01 เลขที่ข้อตกลง 4/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3321-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีทักษะในการชะลอความเสื่อมของร่างกายและสมอง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิด อารมณ์เป็นสุข สร้างคุณค่าในตนเอง
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะควบคุมอารมณ์ จัดการอารมณ์ ของตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ (สุขสบาย สุขสง่า สุขสนุก สุขสงบ สุขสว่าง)
- กิจกรรมการให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 42 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ระดับบุคคลผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและจิตดีขึ้นตามอัตภาพการฆ่าตัวตายลดลงผู้ป่วยซึมเศร้าเข้าถึงการบริการ 2.ระดับชุมชนเกิดศูนย์การเรียนรู้
- เป็นเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุที่มั่นคงโดยชุมชนมีส่วนร่วม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมการให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ.ด้านสุขสบาย ซึ่งดำเนินกิจกรรมดังนี้ 1 .ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ด้านที่ 4 : สุขสว่าง (Cognition) ด้านที่ 5 : สุขสงบ (Peacefulness) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
|
42 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีทักษะในการชะลอความเสื่อมของร่างกายและสมอง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลตนเองทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ |
90.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิด อารมณ์เป็นสุข สร้างคุณค่าในตนเอง ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมสร้างสุข 5 มิติครบทั้ง 5 สุข (สุขสบาย สุขสง่า สุขสนุก สุขสงบ สุขสว่าง) |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะควบคุมอารมณ์ จัดการอารมณ์ ของตนเอง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ มีการดูแลสุขภาพจิตตนเองดีขึ้นคัดกรองแล้วไมพบโรคซึมเศร้า (จากแบบประเมินความสุข) |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 42 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 42 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีทักษะในการชะลอความเสื่อมของร่างกายและสมอง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิด อารมณ์เป็นสุข สร้างคุณค่าในตนเอง (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะควบคุมอารมณ์ จัดการอารมณ์ ของตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) (2) การให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ (สุขสบาย สุขสง่า สุขสนุก สุขสงบ สุขสว่าง) (3) กิจกรรมการให้บริการเพื่อให้เกิดสุข 5 มิติ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ สร้างสุข 5 มิติ เป็นผู้สูงวัย แต่ไม่ไร้ค่า จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3321-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายยก ช่วยอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......