กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาวะนักเรียน ”

ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสรัลพร ขวัญซ้าย ตำแหน่ง ครูศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาวะนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1485-3-06 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาวะนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาวะนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาวะนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1485-3-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนเป็นสถาบันทางสังคมพื้นฐานที่มีหน้าที่พัฒนาเด็กวัยเรียนให้มีศักยภาพ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข โรงเรียนจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการปลูกฝังความรู้เจตคติและพฤติกรรมทุกๆ ด้านแก่เด็กวัยเรียน รวมทั้งพฤติกรรมสุขภาพ แต่เนื่องจากโรงเรียนเป็นที่รวมของเด็กในชุมชนที่มาจากครอบครัวที่ต่างกัน จึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเกิดปัญหาโรคภัยไข้เจ็บทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ที่มีสาเหตุจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม อีกทั้ง เมื่อนักเรียนคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อมาโรงเรียน  มีโอกาสจะแพร่เชื้อโรคไปสู่นักเรียนคนอื่นๆ ได้ง่ายจากการเล่นคลุกคลีกัน ทำกิจกรรมร่วมกัน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในโรงเรียนจึงจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล  ซึ่งทุกฝ่ายต้องเห็นความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน เพื่อให้การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในโรงเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ปกครองนักเรียนครู และผู้ดูแล ถือเป็นบุคคลที่มีบทบาทต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม      ด้านสุขอนามัยเด็กอย่างมาก การส่งเสริมให้บุคลากรเหล่านี้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษา จะช่วยลดการเกิดโรคติดต่อต่างๆ ในเด็ก และเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต โดยในช่วงเดือน มิ.ย.-ต.ค.ของทุกปี มีเด็กจำนวนมากที่เป็นโรคติดเชื้อต่างๆ ซึ่งติดมาจากทั้งเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย โรคติดต่อที่พบบ่อย ได้แก่ โรคมือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และโรคไข้เลือดออก ทั้งนี้เพราะด้วยสภาพอากาศในช่วงฤดูฝน อากาศไม่ปลอดโปร่ง เชื้อโรคต่างๆ มักจะสะสมอยู่ตามจุดอับต่างๆ ภายในห้องเรียน ก่อให้เกิดโรคติดต่อในเด็กได้ง่ายและแพร่เชื้อได้  อย่างรวดเร็ว ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวข้างต้น      จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมสุขภาวะนักเรียน” เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ และนำแนวทางดังกล่าวไปใช้ป้องกันควบคุมโรคที่เกิดกับนักเรียนได้อย่างถูกต้อง สามารถควบคุมการแพร่กระจายโรคได้ นอกจากนี้ยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาด    ของโรคติดต่อใหม่ๆ และโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล มีความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และ โรคไข้เลือดออก
  2. 2. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล สามารถดูแลป้องกันตนเองและครอบครัว เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และโรคไข้เลือดออกในเบื้องต้นได้
  3. 3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล จัดทำผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในการป้องกันโรคได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล มีความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และโรคไข้เลือดออก   2. ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล สามารถดูแลป้องกันตนเองและครอบครัว เกี่ยวกับโรค      มือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และโรคไข้เลือดออกในเบื้องต้นได้   3. ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล จัดทำผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในการป้องกันโรคได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล มีความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และ โรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล สามารถดูแลป้องกันตนเองและครอบครัว เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และโรคไข้เลือดออกในเบื้องต้นได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล จัดทำผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในการป้องกันโรคได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล มีความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และ          โรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล สามารถดูแลป้องกันตนเองและครอบครัว เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก, โรคไวรัส RSV และโรคไข้เลือดออกในเบื้องต้นได้ (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ดูแล จัดทำผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในการป้องกันโรคได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาวะนักเรียน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1485-3-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสรัลพร ขวัญซ้าย ตำแหน่ง ครูศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด