กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด


“ โครงการพัฒนาทักษะป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทักษะป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L7577-1-2 เลขที่ข้อตกลง /2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาทักษะป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทักษะป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาทักษะป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L7577-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่รักษาไม่หายแต่สามารถป้องกันและควบคุมได้ด้วยการเรียนรู้เรื่องโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพปัจจุบันมีการรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างแพร่หลายแต่ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมได้ปัญหาที่พบบ่อยคือผู้ป่วยขาดการรับรู้เรื่องประโยชน์และความรุนแรงของโรคส่งผลให้การควบคุมโรคขาดประสิทธิภาพซึ่งปัจจัยที่สัมพันธ์กับการควบคุมโรคคือพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมไม่ควบคุมอาหารขาดดารออกกำลังกายส่งผลให้น้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้นรวมถึงการรับประทานยาไม่สม่ำเสมอการจัดระบบการดูแลรักษาและการสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้ป่วยรับรู้และเข้าใจเรื่องโรคการจัดการพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถควลคุมโรคได้ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจและดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขจึงเป็นสิ่งสำคัญ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมดมีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน213คนสามารถควบคุมโรคได้ดีตามเกณฑ์ได้เพียงร้อยละ37.56และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง513คนสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงได้ดีตามเกณฑ์ร้อยละ65.89ซึ่งการควบคุมโรคเบาหวานยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดนอกจากนี้ยังพบภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องซึ่งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้แก่พฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกายการจัดการความเครียดและการรับประทานยาซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ต้องใช้เวลา อาศัยการเรียนรู้การฝึกทักษะและความตั้งใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการเก็บรวบรวมข้อมูลและศึกษางานวิจัยพบว่า รูปแบบการให้บริการโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางรวมถึงกระบวนการให้ความรู้ที่สนับสุนการดูแลตนเองช่วยให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้ดีลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ในระยะยาว โครงการนี้จึงมีความสำคัญในการเตรียมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั้งเบาหวานความดันโลหิตสูงผู้ดูแลและแกนนำ อสม. ให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมจากทีมสหวิชาชีพซึ่งประกอบด้วยแพทย์พยาบาล เภสัชกรและนักโภชนาการโดยเน้นให้ผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ดูแลสุขภาพได้อย่างถูกวิธีสามารถพึ่งพาตนเองได้ลดการใช้ยาลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรังมีคุณภาพชีวิตที่ดีและลดค่าใช้จ่ายในการรักษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจพร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
  2. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด
  3. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงอย่างเข้มข้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
  2. กิจกรรมติดตามประเมินความเสี่ยงโดยทีมสหวิชาชีพ
  3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการจัดการสุขภาพโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 175
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
เจ้าหน้าที่สหวิชาชีพ 10
แกนนำ อสม. 20

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดีมากกว่าร้อยละ 40 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีมากกว่าร้อยละ60 3.ผู้ป่วยที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจหลอดเลือดพบความเสี่ยงสูงมากได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นหรือได้รับยาเพื่อลดความเสี่ยงร้อยละ 50 4.ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาไตเท้าหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจพร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงอย่างเข้มข้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 275
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 175
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
เจ้าหน้าที่สหวิชาชีพ 10
แกนนำ อสม. 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจพร้อมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรค (2) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจและหลอดเลือด (3) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงอย่างเข้มข้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (2) กิจกรรมติดตามประเมินความเสี่ยงโดยทีมสหวิชาชีพ (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะการจัดการสุขภาพโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาทักษะป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L7577-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด