กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี


“ โครงการค่ายเยาวชนตาดีกากับการดูแลสุขภาพ ประจำปี 2567 ”

ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลมานัส บูกา

ชื่อโครงการ โครงการค่ายเยาวชนตาดีกากับการดูแลสุขภาพ ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3031-2-002 เลขที่ข้อตกลง 010

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายเยาวชนตาดีกากับการดูแลสุขภาพ ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายเยาวชนตาดีกากับการดูแลสุขภาพ ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายเยาวชนตาดีกากับการดูแลสุขภาพ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3031-2-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กุมภาพันธ์ 2567 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 198,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ต้องได้รับการพัฒนาเต็มตามองค์รวมครบทุกด้านทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และจริยธรรมคุณธรรม ทั้งนี้การพัฒนาเด็กและเยาวชนต้องอาศัยการบูรณาการ ผสมผสานกับวิถีชีวิตของเด็กและเยาวชน โดยสถานการณ์เกี่ยวกับปัญหาเด็กพบว่ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น ในประเด็นของการดูแลสุขภาวะทางด้านสุขภาพ จากสาเหตุการป่วยนอกตามกลุ่มโรค 10 อันดับแรก ในกลุ่มอายุน้อยกว่าเท่ากับ 15 ปี เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดปัตตานี อำเภอยะรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะมาวี ปี 2565 คือ 167 การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่นๆ180ฟันผุ 198 โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 181 ความผิดปกติอื่นๆ ของฟันและโครงสร้าง199โรคอื่นๆ ของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง057 โรคติดเชื้อและปรสิตอื่นๆ 042 โรคติดเชื้อรา 142 โรคของหูและปุ่มกดหูอื่นๆ185 โรคอื่นๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม053 โรคพยาธิตัวตืด140หูชั้นกลางอักเสบและความผิดปกติของหูชั้นกลางและปุ่มกกอื่นๆ041 โรคจากไวรัสอื่นๆ165 คอลอักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิมอักเสบเฉียบพลัน 170 หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและหลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลัน131 เยื่อบุตาอักเสบและความผิดปกติของเยื่อบุตาอื่นๆทั้งนี้อาจสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ จากการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาดังกล่าวพบว่าครอบครัวและชุมชนยังขาดศักยภาพในการดูแลสมาชิกของตนเอง และยังมีขีดความสามารถจำกัดในการจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ที่จะเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็กและเยาวชนในครอบครัวและชุมชนได้ สถานการณ์เยาวชนในพื้นที่ตำบลเมาะมาวี ในปัจจุบัน สภาพวิถีชีวิตของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ทั้งปัญหาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี และการเมืองการปกครอง ความรีบเร่งในการทำงาน และการประกอบอาชีพส่งผลต่อชีวิตประจำวันของประชาชนโดยรวม ตัวอย่างเช่น การไม่ให้ความสำคัญกับเวลาที่มีคุณค่ากับลูก การไม่รู้จักและตระหนักถึงภัยจากสื่อโฆษณา มีแหล่งจูงใจในทางที่ไม่สร้างสรรค์ ขาดความรู้ ขาดทักษะในการชี้แนะ เชื่อมโยงโน้มน้าวให้ลูกเกิดความรู้สึกนึกคิดที่ดีในการเข้ามาช่วยทำงานร่วมกับครอบครัว บ้านและโรงเรียนยังไม่สามารถทำงานร่วมกันในการพัฒนาเด็ก-เยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทำอย่างไรที่จะให้เด็กและเยาวชนได้รู้จักคุณค่าของเวลา มีทักษะในการดำรงชีวิต มีทักษะในการทำงาน มีจิตอาสาในการร่วมกันสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ เพื่อชุมชน วิธีการ ให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ใช้เวลาว่างในการแก้ปัญหาและพัฒนาระบบสุขภาวะของตนเองและของบุคคลในชุมชน เช่น กิจกรรมค่ายส่งเสริมสุขภาพ การทำงานร่วมกันเป็นทีม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้สามารถที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีการส่งเสริมสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม นอกจากนั้น เป็นที่ทราบกันดีว่าการบริการสุขภาพในเชิงรับเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถป้องกันปัญหาของวัยรุ่นและเยาวชนได้ เนื่องจากกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชนมักไม่ใช้บริการของรัฐ โดยเฉพาะไม่กล้าเข้าพบเจ้าหน้าที่เพื่อขอรับบริการต่างๆ ดังนั้น การให้ความรู้เรื่องสุขภาพเริ่มตั้งแต่ที่บ้าน เป็นกลยุทธ์ที่จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะครอบครัวเป็นช่องทางในการเข้าถึงเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อป้องกันปัญหา และเข้าถึงกลุ่มเด็กเยาวชนทั่วไปเพื่อการส่งเสริม โครงการนี้ค่ายเยาวชนนี้เป็นการส่งเสริมสุขภาพเด็กเยาวชน คุณครูผู้สอนและตลอดจนบุคคลในครอบครัวเด็ก การที่สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพดี แสดงให้เห็นว่า บุคคลที่มีบทบาทสำคัญในครอบครัว เป็นผู้ที่มีความรู้ทางด้านสุขภาพ จึงสามารถที่จะแนะนำให้ทุกคนในครอบครัว ปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำวันได้อย่างสม่ำเสมอ เสมือนเป็นแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ดังนั้นทางชมรมตาดีกาตำบลเมาะมาวี ร่วมกับ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเมาะมาวี จึงได้จัดโครงการค่ายเยาวชนตาดีกากับการดูแลสุขภาพ ประจำปี๒๕๖๗ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการป้องโรคต่างๆ
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติด, การจัดการขยะป้องกันโรค
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพกายและใจตามหลักศาสนา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเตรียมความพร้อม
  2. กิจกรรมจัดอบรม
  3. กิจกรรมติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคต่างๆ
  2. ผุ้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติด, การจัดการขยะป้องกันโรค
  3. ผุ้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพกายและใจตามหลักศาสนา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการป้องโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด :
70.00 80.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติด, การจัดการขยะป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
70.00 80.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพกายและใจตามหลักศาสนา
ตัวชี้วัด :
70.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการป้องโรคต่างๆ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องยาเสพติด, การจัดการขยะป้องกันโรค (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพกายและใจตามหลักศาสนา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมจัดอบรม (3) กิจกรรมติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายเยาวชนตาดีกากับการดูแลสุขภาพ ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3031-2-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลมานัส บูกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด