กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ อสม ร่วมใจรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษในเกษตรกร หมู่5 เทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567 ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวธีรวรรณ สนู




ชื่อโครงการ อสม ร่วมใจรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษในเกษตรกร หมู่5 เทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3325-2-13 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"อสม ร่วมใจรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษในเกษตรกร หมู่5 เทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อสม ร่วมใจรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษในเกษตรกร หมู่5 เทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือด (3) เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้ารพ.สต.บ้านปากคลอง,อสม.และผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.มะกอกเหนือ (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) อบรมความรอบรู้สารเคมีในเกษตรกร และตรวจหาสารเคมีในเลือดเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่ (4) อสม.ลงเยี่ยม ติดตาม เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ (5) ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือดไม่ปลอดภัย จากการตรวจครั้งที่ 1 (6) ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือด มีความเสี่ยง ครั้งที่ 2 (7) สรุปโครงการและถอดบทเรียนคืนข้อมูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรที่จะมีการประชาสัมพันธ์โครงการให้มากกว่านี้เพราะถ้ามีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงประชาชนเข้าร่วมโครงการทำให้รู้ว่าสารพิษมีอันตรายขนาดไหนก็จะทำให้ประชาชนกลัวที่จะใช้สารพิษหันมาใช้ปุ๋ยชีวภาพและน้ำหมักในการฉีดพ่นศรัสตรูพืชแทน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในปัจจุบัน เนื่องจากเกษตรกรส่วน ใหญ่มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกันอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเหล่านั้น ยังสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง ไม่ว่าจะเป็นทางการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้ง กระจายในอากาศ และการรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน ซึ่งเกษตรกรผู้ฉีดพ่นนั้นจะได้รับพิษโดยตรง แต่สำหรับผู้บริโภคจะได้รับพิษทางอ้อมจากผลผลิตทางการเกษตรที่มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างปนเปื้อนอยู่ แม้ได้รับในปริมาณต่ำ แต่การที่ได้รับเป็นประจำ สารเคมีเหล่านั้นจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือด
  3. เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้ารพ.สต.บ้านปากคลอง,อสม.และผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.มะกอกเหนือ
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. อบรมความรอบรู้สารเคมีในเกษตรกร และตรวจหาสารเคมีในเลือดเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่
  4. อสม.ลงเยี่ยม ติดตาม เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ
  5. ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือดไม่ปลอดภัย จากการตรวจครั้งที่ 1
  6. ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือด มีความเสี่ยง ครั้งที่ 2
  7. สรุปโครงการและถอดบทเรียนคืนข้อมูล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนลดการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และบริโภคผักปลอดสารพิษ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้ารพ.สต.บ้านปากคลอง,อสม.และผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.มะกอกเหนือ

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้ารพ.สต.บ้านปากคลอง ผู้นำชุมชน และอสม.ในเขตพื้นเพื่อชี้แจงและทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน ค้นหากลุ่มเป้าหมายจากประชาชนในพื้นที่ ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เช่น ครัวเรือนที่ใช้ยาฆ่าหญ้า ในรายที่ทำนา ทำสวน เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• คณะทำงานเข้าใจโครงการตรงกัน • มีกลุ่มเป้าหมาย

 

0 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อสม.ในพื้นที่ร่วมกันประชาสัมพันธ์โครงการอสม.รณรงค์คัดกรองหาสารเคมีในเกษตรกร หมู่ที่ 5 เขตเทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567 เพื่อทำความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายและรับสมัครกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเกษตรกรในพื้นที่ โดยการเคาะประตูบ้านพูดคุยและแนะนำเชิญชวนเข้าร่วมโครงการด้วยกัน ตามความสมัตรใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ

 

0 0

3. อบรมความรอบรู้สารเคมีในเกษตรกร และตรวจหาสารเคมีในเลือดเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่

วันที่ 28 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ช่วงที่ 1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรเรื่องการใช้สารเคมี การลดการใช้สารเคมี โทษของสารเคมี การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน เป็นต้น ช่วงที่ 2. รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วงที่ 3.เชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ครั้งที่1 และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง จะแจ้งผลการตรวจกับกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ผู้ที่มีสารตกค้างเกินมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์ไม่ปลอดภัย เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะจ่ายสมุนไพรรางจืด เป็นเวลา 10 วัน และติดตามผลเลือดอีก 2 วัน หลังจากรับประทานรางจืด ส่วนผู้ที่มีผลเลือด อยู่ในกลุ่มมีความเสี่ยงจะติดตามผลเลือดอีก 1 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรมีความรู้เรื่องสารเคมีเพิ่มขึ้น ร้อยละ 91 -กลุ่มเป้าหมายได้บริโภคผักปลอดสารพิษในครัวเรือน -เกษตรกรได้รับการตรวจสารพิษตกค้างในเลือด อย่างน้อยร้อยละ30
-เกษตรกรที่มีผลสารพิษตกค้างในเลือดอยู่ในเกณฑ์ไม่ปลอดภัย จะได้รับการรักษาและติดตามร้อยละ100

 

0 0

4. อสม.ลงเยี่ยม ติดตาม เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อสม.ลงเยี่ยม ติดตาม เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อพูดคุยให้กำลังใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ -เกษตรกรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน

 

0 0

5. ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือดไม่ปลอดภัย จากการตรวจครั้งที่ 1

วันที่ 10 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือดไม่ปลอดภัย จากการตรวจครั้งที่แล้ว เพื่อติดตามหลังการให้คำแนะนำ และหลังรับประทานรางจืดจนครบ 10 วัน ในกรณีที่มีผลเลือดยังไม่ปลอดภัย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง จะให้สมุนไพรรางจืด รับประทานต่ออีก 5 วัน พร้อมนัดติดตามผลอีกครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดที่ไม่ปลอดภัย ต้องรับยาสมุนไพรรางจืด จำนวน 3 ราย ทั้ง 3 ราย ได้รับการเจาะเลือดเพื่อหาสารพิษตกค้าง หลังการได้รับยาครบ 7 วัน คิดเป็นร้อยละ 100 และระดับสารพิษจากระดับไม่ปลอดภัย ลดลงมาสู่ระดับเสี่ยง ทั้ง 3 คน คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

6. ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือด มีความเสี่ยง ครั้งที่ 2

วันที่ 24 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านปากคลอง ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือด มีความเสี่ยง จากการตรวจครั้งที่แล้ว เพื่อติดตามหลังการให้คำแนะนำ รวมถึงติดตามหลังจากที่ปลูกผักไว้รับประทานเองผลเลือดมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดจากมีความเสี่ยงลดลงร้อยละ 95

 

0 0

7. สรุปโครงการและถอดบทเรียนคืนข้อมูล

วันที่ 1 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมคณะทำงานสรุปโครงการและถอดบทเรียนการทำงาน -ค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน สปสช 1 เล่ม ค่าวัสดุอุปกรณเป็นเงิน 200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถปฎิบัติตัวได้ถูกต้องเมื่อจำเป็นต้องใช้สารเคมี -เกษตรกรไม่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดในระดับอันตราย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องร้อยละ 90
50.00 90.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือดอย่างน้อยร้อยละ 30
10.00 50.00

 

3 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
ตัวชี้วัด : จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดลดลง ร้อยละ 90
50.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือด (3) เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้ารพ.สต.บ้านปากคลอง,อสม.และผู้ใหญ่บ้าน ม.5 ต.มะกอกเหนือ (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) อบรมความรอบรู้สารเคมีในเกษตรกร และตรวจหาสารเคมีในเลือดเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่ (4) อสม.ลงเยี่ยม ติดตาม เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ (5) ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือดไม่ปลอดภัย จากการตรวจครั้งที่ 1 (6) ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่เกษตรกรที่มีผลเลือด มีความเสี่ยง ครั้งที่ 2 (7) สรุปโครงการและถอดบทเรียนคืนข้อมูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรที่จะมีการประชาสัมพันธ์โครงการให้มากกว่านี้เพราะถ้ามีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงประชาชนเข้าร่วมโครงการทำให้รู้ว่าสารพิษมีอันตรายขนาดไหนก็จะทำให้ประชาชนกลัวที่จะใช้สารพิษหันมาใช้ปุ๋ยชีวภาพและน้ำหมักในการฉีดพ่นศรัสตรูพืชแทน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ อสม ร่วมใจรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษในเกษตรกร หมู่5 เทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567

รหัสโครงการ 67-L3325-2-13 รหัสสัญญา 11/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนปลูกผักกินเองหลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยเคมีและยาปราบศัตรูพืช

รูปภาพ

ได้ผักกินเองเหลือจากกินสามารถนำไปขายมีรายได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

จัดการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 5 ที่มีความเสี่ยงในการบริโภคผักที่ใช้สารเคมี โดยกายให้กลุ่มเสี่ยงเจาะเลือดถ้าเกิดผิดปกติก็ให้รางจืดไปรับประทานแล้วตามเจาะเลือดอีกครั้ง

รูปถ่าย

ประชาชนมีผักปลอดสารพิษกินและจำหน่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

มีผักบริโภคและจำหน่าย

รูปถ่าย

มีผักขายในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

อสม ร่วมใจรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษในเกษตรกร หมู่5 เทศบาลตำบลบ้านสวน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3325-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธีรวรรณ สนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด