กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลสมหวัง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุทธิพงค์ รักษ์พันธ์ สาธารณสุขอำเภอกงหรา

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลสมหวัง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567 - L3309 - 1 - 3 เลขที่ข้อตกลง 21/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2567 ถึง 20 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลสมหวัง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลสมหวัง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลสมหวัง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567 - L3309 - 1 - 3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2567 - 20 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล คุณภาพชีวิตที่ดี เป็นเป้าหมายหลักของสังคม คือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกาย และจิตใจทุกเพศ ทุกวัย จากสถานการณ์ผู้สูงอายุของประเทศไทย พบว่าประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 และมีแนว โน้มการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุร้อยละ 3.6 ต่อปี และในปี พ.ศ. 2566 พบว่าจังหวัดพัทลุงมีผู้สูงอายุจำนวน 96,916 คน จากจำนวนประชากรทั้งหมด 390,496 คนคิดเป็นร้อยละ24.78 ซึ่งเป็นการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์(Complete Aging Society)และตำบลสมหวัง มีผุ้สูงอายุจำนวน 1,136 คน จากประชากรทั้งหมด 3,817 คน คิดเป็นร้อยละ 29.76 และจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น ยังไงก็ตามจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลข้างเคียงและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ ได้นำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพิง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อย ทำให้มีผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และครอบครัว รวมถึงคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเอง จึงมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ชาติเพื่อพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพให้รองรับและสอดคล้องกับสถานการณ์ผู้สูงอายุ โดยเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืน มีความเป็นเลิศ 4 ด้านของกระทรวงสาธารณสุข คือ 1) ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)2) บริการเป็นเลิศ (Service Excellence)3) บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)4) บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย “ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงาน การส่งเสริม ป้องกัน และสร้างสุขภาพตามนโยบายของรัฐบาล และกระทรวงสาธารณสุข เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติอำเภอกงหราจึงได้จัดดำเนินโครงการการส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุแบบองค์รวม ประจำปี 2564 ขึ้น โดยมุ่งหวังให้ประชาชนในวัยสูงอายุมีความรู้ ตระหนัก และมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองและครอบครัว อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมทั้งบุคลากรได้รับการพัฒนาทักษะ เพื่อให้เกิดการพัฒนา และการบูรณาการร่วมกันในการขับเคลื่อนการดูแลผู้สูงอายุโดยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
  2. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
  3. เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
  4. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
  6. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  7. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  8. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
  9. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  10. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
  11. เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Geraitric syndrom
  2. การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการเรียนรู้เพิ่มความสามารถของผู้สูงอายุ
  3. มหกรรมสร้างเสริมสุขภาพดี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้สูงอายุ
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำผู้สูงอายุ ในการเขียนแผนดูแลสุขภาพตัวเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
จนท.อปท. 5
เจ้าหน้าที่+อสม.พี่เลี้ยงผู้สูงอายุ 12
แกนนำผู้สูงอายุตำบลสมหวัง 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ระบบการดูแลผู้สูงอายุมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความเข้มแข็งมากขึ้น
  2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์ สังคม มีคุณภาพชีวิตที่ดี 3 .ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลต่อเนื่อง และได้รับการฟื้นฟูที่เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
20.00 25.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
50.00 30.00

 

3 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
20.00 25.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง
150.00 135.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
30.00 50.00

 

6 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
50.00 40.00

 

7 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น
10.00 20.00

 

8 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
350.00 500.00

 

9 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
120.00 200.00

 

10 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
200.00 250.00

 

11 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
10.00 7.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 77
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
จนท.อปท. 5
เจ้าหน้าที่+อสม.พี่เลี้ยงผู้สูงอายุ 12
แกนนำผู้สูงอายุตำบลสมหวัง 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (3) เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (4) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (5) เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (6) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (7) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (8) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ (9) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (10) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ (11) เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Geraitric  syndrom (2) การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการเรียนรู้เพิ่มความสามารถของผู้สูงอายุ (3) มหกรรมสร้างเสริมสุขภาพดี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้สูงอายุ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำผู้สูงอายุ ในการเขียนแผนดูแลสุขภาพตัวเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลสมหวัง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567 - L3309 - 1 - 3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุทธิพงค์ รักษ์พันธ์ สาธารณสุขอำเภอกงหรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด