กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ ปีงบ 2567 ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรุสนานี มามุ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ ปีงบ 2567

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67 - L4138 – 02 – 05 เลขที่ข้อตกลง 011/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ ปีงบ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ ปีงบ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ ปีงบ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67 - L4138 – 02 – 05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลผู้สูงอายุและการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านจิตใจผู้สูงอายุในชุมชน ถือเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน โดยมีญาติหรือผุ้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม เนื่องจากภาวะเสื่อมทางร่างกายของผู้สูงอายุ จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ทำให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติทั่วไป และมักจะไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางสาธารณสุข ส่งผลให้ขาดการดูแล รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม มีผลต่อคุณภาพชีวิตที่ลดลงรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล จากผลการดำเนินงานผู้สูงอายุที่ผ่านมาในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะลา ทำให้ทราบถึงปัญหาในการเข้าถึงบริการเสริมสร้างและฟื้นฟูสมรรถภาพ และขาดการรับทราบข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพ ทำให้ขาดโอกาสในการรับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสภาพร่างกายให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันและช่วยเหลือตัวเองได้ดี จากการสำรวจพบว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะลา มีปัญหาด้านสุขภาพและมีวิธีดูแลสุขภาพของตนเองและของครอบครัวยังไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญได้แก่ การเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ เช่น โรคอุบัติใหม่ (โควิด -19 ) โรคไข้หวัด ปวดศีรษะ ปวดขา โรคกระเพาะ ปัญหาโรคติดต่อ โรคติดต่อ และปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งล้วนแต่เป็นปัญหาสุขภาพที่มีผลกระทบต่อครออบครัวด้านการใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่าย และด้านจิตใจ ซึ่งวิธีการดูแลสุขภาพของครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย พบว่าครอบครัวส่วนใหญ่จะทราบวิธีการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ดี นอกจากนี้ยังมีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูแลผู้สูงอายุ การดูแลฟื้นฟูผู้พิการเพื่อลดปัญหาแผลกดทับ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น ทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้องนี้อาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้น ทั้ง ที่สามารถป้องกันหรือรักษาได้ ด้วยเหตุนี้ หากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวและชุชนสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ มีระบบการเฝ้าระวังดุแลปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ เพื่อลดอันตรายหรือเพื่อลดความพิการที่อาจเกิดขึ้น เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะลา มีผู้สูงอายุจำนวน 352 คน แบ่งเป็นผู้สูงอายุที่ติดเตียง จำนวน 1 คน ผู้สูงอายุที่ติดบ้านจำนวน 18 คน ซึ่งพบว่ายังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่มีบริการด้านต่างๆ ยังเข้าไปไม่ถึง แต่เนื่องจากยังคงมีองค์กรต่างๆ ในชุมชนอีกมากมาย หากมีการพัฒนาศักยภาพให้สามารถดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้ จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้สูงอายุในชุมชน ดังนั้นทางกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุระยะยาวตำบลยะลาและชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านรวมทั้งแกนนำผู้ดูแลในพื้นที่ตำบลยะลา เล็งเห็นความสำคัญต่อสุขภาพผู้สูงอายุรวมทั้งผลกระทบที่จะตามมา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

        ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มจากร้อยละ 10.7 ในปี 2550 (7.0 ล้านคน) เป็นร้อยละ 11.8 (75 ล้านคน) ในปี 2553 และร้อยละ 20.0 (14.55 ล้านคน) ในปี 2568 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2551) นับว่าอัตราการเข้าสู่ “ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม     ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทำกิจกรรมประจำวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่าผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ 52.2 และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ร้อยละ 10.2 (เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม,2547) อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี2550 พบว่า ร้อยละ 67.3 ของประชากรในกลุ่มอายุ 60-69 ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเป็น 83.3 ในกลุ่มที่มีอายุ 90 ปีขึ้นไป จากสถานการณ์ดังกล่าว อันทำให้ผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุมีแนวโน้มเจ็บป่วยมากและเร็วขึ้น สำหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะลา ปีงบประมาณ 2566 มีจำนวน 234 คน ปีงบ 2567 ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เป็น 352 คนคิดเป็นร้อยละ 10.60 ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคม ร้อยละ 94.01 ติดบ้าน ร้อยละ 5.5 และติดเตียงร้อยละ 0.42
    ดังนั้น การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จะเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี และที่สำคัญ คือการมุ่งลดความเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะลา ตำบลยะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ซึ่งเป็นหน่วยงานบริการสุขภาพปฐมภูมิมีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 3 หมู่บ้าน  จำนวนหลังคาเรือน 702  ประชากรทั้งหมด 3,319 คน  ในจำนวนนี้อยู่ในวัยผู้สูงอายุจำนวน 352 คน  ที่เป็นวัยผู้สูงอายุมักจะเจ็บป่วยได้ง่ายเนื่องจากความเสื่อมตามสภาพร่างงกาย  โรคที่พบได้บ่อยได้แก่ โรคระบบกล้ามเนื้อโครงร่างและกระดูกซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรมและการเจ็บป่วย จากสภาวะข้อเสื่อมในผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นแกนนำสุขภาพมีความรู้ในการดูแลด้านสุขภาพและสามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ
  3. เพื่อพัฒนาระบบการดูแล การบริการทางสาธารณสุขให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพกายและจิตดีขึ้น ลดภาวะพึ่งพิง
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแล ตลอดจนอาสาสมัครผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง
  5. เพื่อสร้างเครือข่ายและระบบการดูแลผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. 1.อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมายในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและประเมินภาวะสุขภาพด้วยตนเองและกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองและการแก้ไขปัญหา สุขภาพตนเอง
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมายในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและประเมินภาวะสุขภาพด้วยตนเองและกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองและการแก้ไขปัญหา สุขภาพตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีระบบการดูแล การบริการทางสาธารณสุขให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพกายและจิตดีขึ้น ลดภาวะพึ่งพิง
  2. ผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแล ตลอดจนอาสาสมัครผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง
  3. เกิดเครือข่ายและระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
  4. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
  5. ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้อง
  6. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลต่อเนื่องจากผู้ดูแลและกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง ร้อยละ 90
90.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นแกนนำสุขภาพมีความรู้ในการดูแลด้านสุขภาพและสามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เป็นแกนนำสุขภาพมีความรู้ในการดูแลด้านสุขภาพผู้และสามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ ร้อยละ 100
100.00

 

3 เพื่อพัฒนาระบบการดูแล การบริการทางสาธารณสุขให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพกายและจิตดีขึ้น ลดภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : มีระบบการดูแล การบริการทางสาธารณสุขให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพกายและจิตดีขึ้น ลดภาวะพึ่งพิง
100.00

 

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแล ตลอดจนอาสาสมัครผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแล ตลอดจนอาสาสมัครผู้ดูแลอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100
100.00

 

5 เพื่อสร้างเครือข่ายและระบบการดูแลผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายและระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นแกนนำสุขภาพมีความรู้ในการดูแลด้านสุขภาพและสามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ (3) เพื่อพัฒนาระบบการดูแล การบริการทางสาธารณสุขให้แก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และส่งเสริมสุขภาพกายและจิตดีขึ้น ลดภาวะพึ่งพิง (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยผู้ดูแล ตลอดจนอาสาสมัครผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง (5) เพื่อสร้างเครือข่ายและระบบการดูแลผู้สูงอายุ      โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมายในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและประเมินภาวะสุขภาพด้วยตนเองและกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองและการแก้ไขปัญหา สุขภาพตนเอง (3) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมายในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและประเมินภาวะสุขภาพด้วยตนเองและกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองและการแก้ไขปัญหา สุขภาพตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ ปีงบ 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67 - L4138 – 02 – 05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรุสนานี มามุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด