กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน


“ โครงการดูแลหญิงหลังคลอด ”

ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางศุภลักษณา เพชรย้อย

ชื่อโครงการ โครงการดูแลหญิงหลังคลอด

ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3310-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลหญิงหลังคลอด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลหญิงหลังคลอด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลหญิงหลังคลอด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3310-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ระยะหลังคลอด (Postpartum period) หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่หลังคลอดทารกและรกเสร็จสิ้น ไปจนถึงระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอด (ใช้เกณฑ์เดียวกันทั้งการคลอดปกติทางช่องคลอดและการผ่าท้องคลอด) ซึ่งในช่วงนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านสรีระและฮอร์โมนของสตรีหลังคลอดเพื่อกลับคืนสู่สภาพปกติ ซึงในการดูแลมารดาและทารกนั้นนับว่ามีความสำคัญเพื่อที่จะลดภาวะแทรกซ้อน ในอดีตถือกันว่ามารดาหลังคลอดนั้นเป็นคนป่วย ต้องได้รับการรักษาเหมือนคนไข้ของโรงพยาบาลทั่วไป แต่ในปัจจุบันความคิดเช่นนี้ได้เปลี่ยนไปแล้ว เพราะมารดาหลังคลอดก็คือคนปกติที่เพิ่งผ่านการคลอดบุตร เพียงแต่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ ที่ต้องการการเอาใจใส่บ้างตามสมควร ด้วยการประคับประคองให้สามารถช่วยเหลือตนเองด้านการปฏิบัติตัวหลังคลอด ระยะพักฟื้นหลังคลอด โดยทั่วไปถือว่า 5-6 สัปดาห์เป็นระยะเวลาที่นานเพียงพอสำหรับร่างกาย โดยเฉพาะอวัยวะสืบพันธุ์ที่จะค่อย ๆ กลับคืนสู่สภาพปกติเหมือนตอนที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ แต่ในเรื่องของสภาพจิตใจ การปรับตัวให้เข้ากับบทบาทของความเป็นแม่ และการเลี้ยงดูลูกน้อย คงต้องใช้เวลานานกว่านี้ รพ.สต.บ้านลานช้างได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการดูแลหญิงหลังคลอดเพื่อให้แม่และลูกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนและดำเนินชีวิตได้ตามปกติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนในหญิงหลังคลอด ในการลดภาวะแทรกซ้อนของมารดาหลังคลอดและเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในเด็ก 0-6เดือน
  2. เพื่อฟื้นฟูความรู้ อสม.เชี่ยวชาญด้านนมแม่ ดูแลหญิงหลังคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 81
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มารดาหลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน
    2. มารดาทุกคนเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรม การดำเนินงานโครงการดูแลหญิงหลังคลอด ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้าง โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม.เพื่อเป็น อสม.เชี่ยวชาญในงานอนามัยแม่และเด็ก จำนวน 81 ราย อบรม 1 วัน มีผู้เข้ารับการอบรม 81 คน คิดเป็นร้อยละ 100 1.2 ให้ความรู้หญิงหลังคลอดและมารดาที่มีบุตรอายุไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 30 ราย 2.ผลจากการดำเนินงาน 2.1 มารดาหลังคลอดมารดาที่มีบุตรอายุไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 30 ราย ได้รับการดูแลหลังคลอด ครบทุกราย 2.2 ไม่มีทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม 2.3 ทารกแรกเกิด - 6 เดือน กินนมแม่อย่างอย่างเดียว จำนวน 28 ราย คิดเป็นร้อยละ 93.33 2.4 เด็กมีพัฒนาการสมวัย จำนวน 30 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนในหญิงหลังคลอด ในการลดภาวะแทรกซ้อนของมารดาหลังคลอดและเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในเด็ก 0-6เดือน
    ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อน 100 %

     

    2 เพื่อฟื้นฟูความรู้ อสม.เชี่ยวชาญด้านนมแม่ ดูแลหญิงหลังคลอด
    ตัวชี้วัด : .อสม.ได้รับการฟื้นฟู อสม.เชี่ยวชาญ100 %

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 111
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 81
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนในหญิงหลังคลอด ในการลดภาวะแทรกซ้อนของมารดาหลังคลอดและเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในเด็ก 0-6เดือน (2) เพื่อฟื้นฟูความรู้ อสม.เชี่ยวชาญด้านนมแม่ ดูแลหญิงหลังคลอด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลหญิงหลังคลอด จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560-L3310-1-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางศุภลักษณา เพชรย้อย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด