กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง


“ โครงการการเช็ดแหกเพื่อบรรเทาต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม ”

ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายณัทพล ศรีระพันธุ์

ชื่อโครงการ โครงการการเช็ดแหกเพื่อบรรเทาต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม

ที่อยู่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7012-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการเช็ดแหกเพื่อบรรเทาต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการเช็ดแหกเพื่อบรรเทาต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการเช็ดแหกเพื่อบรรเทาต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7012-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ออฟฟิศซินโดรม (office syndrome) เป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อยในสังคมปัจจุบัน มักเกิดจากการทำงานก้มๆ เงยๆ ยกของหนัก เล่นกีฬา นั่งยืน นอนหรือยกของในท่าที่ไม่ถูกต้อง หรือนอนที่นอนนุ่มเกินไป การใช้กล้ามเนื้อในท่าทางที่ไม่เหมาะสม หรือใช้กล้ามเนื้อมัดนั้นซ้ำๆ เป็นเวลานาน บางท่าทางอาจทำให้เกิดอาการตึง ยึด จนเกิดอาการเจ็บปวดซึ่งบริเวณที่พบบ่อยที่สุด คือ คอ บ่า ไหล่ และหลังส่วนบน หากผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาหรือจัดการกับความปวดที่เหมาะสม จะทำให้เกิดอาการปวดเรื้อรัง ส่งผลให้ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลง และการที่ผู้ป่วยต้องเผชิญกับความปวดที่ยาวนานย่อมส่งผลต่ออารมณ์และจิตใจ ทำให้เกิดความเครียดได้ และในสังคมปัจจุบัน เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมาก ทั้งในเวลาการทำงานและในเวลาว่าง อาทิเช่น คอมพิวเตอร์ และสมาร์ทโฟน ซึ่งท่าทางในการใช้อุปกรณ์เหล่านี้มักต้องอยู่ในอิริยาบถเดิมเป็นเวลานาน ส่งผลให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา โดยเฉพาะกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม ด้านการแพทย์แผนไทย มีการเทียบเคียงโรคลมปลายปัตคาตสัญญาณ 4 หลัง ใกล้เคียงกับกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม ซึ่งจะมีอาการปวดตึงกล้ามเนื้อบ่า คอ และสะบัก มีอาการชาร้าวไปถึงหัวไหล่ลงไปที่แขนด้านนอกไปจนถึงปลายมือ หรือหายใจไม่เต็มอิ่ม
จากสถิติผู้มารับบริการในคลินิกการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนเรนทร์ ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี พบว่า ผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกมากที่สุด คืออาการปวดกล้ามเนื้อหลัง รองลงมาคือ มีอาการปวดบริเวณคอ บ่า ไหล่ โดยมีผู้มารับบริการในปี พ.ศ. 2566 คิดเป็นร้อยละ 16.5 และ 12.3 ตามลำดับ จากข้อมูลข้างต้นชี้ให้เห็นว่ากลุ่มอาการดังกล่าวเป็นกลุ่มอาการที่พบได้บ่อย และคลินิกการแพทย์แผนไทยเองก็ได้ให้การรักษากลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) โดยใช้การนวดรักษาแบบราชสำนักเป็นหลัก ซึ่งส่งผลต่อระบบกล้ามเนื้อทำให้กล้ามเนื้อคลายตัว เพราะมีเลือดมาเลี้ยงเพิ่มขึ้นอันที่จะช่วยลดอาการปวดของผู้ป่วยลง นอกจากนี้การบำบัดด้วยวิธีการเช็ดแหก เป็นอีกหนึ่งวิธีการรักษาที่น่าสนใจเพื่อบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม ข้อมูลจากสมาพันธ์การแพทย์แผนไทยล้านนา ซึ่งอ้างอิงมาจากนาย สวัสดิ์ วรรณศรี (พท.ภ,พท.ว) กล่าวว่า การเช็ดแหก เป็นการนวดชนิดหนึ่งที่เรียกว่า นวดเสียดสี ทำให้กล้ามเนื้อคลาย ช่วยให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น เพิ่มออกซิเจนเข้าสู่เนื้อเยื่อร่างกาย เปิดรูขุมขนขับของเสียออกจากร่างกาย กระตุ้นความร้อนทำให้ร่างกายเกิดการเผาผลาญดีขึ้น และยังช่วยปรับร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุล ดังนั้นคลินิกการแพทย์แผนไทย จึงได้ทำการศึกษาประสิทธิผลของการเช็ดแหกเพื่อบรรเทาต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม ลดการใช้ยาในกลุ่มยาแก้ปวดและยาคลายกล้ามเนื้อแผนปัจจุบัน ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดผลข้างเคียงโดยเฉพาะผลต่อระบบทางเดินอาหาร และทำให้มีคุณภาพชีวิติที่ดีขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้
  2. การปฏิบัติงาน
  3. ให้ความรู้
  4. การปฏิบัติตามกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อเพิ่มทางเลือกในการรักษาของกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม
  2. ประชาชนทั่วไปมีอาการปวดกล้ามเนื้อออฟฟิศซินโดรมลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ (2) การปฏิบัติงาน (3) ให้ความรู้ (4) การปฏิบัติตามกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการเช็ดแหกเพื่อบรรเทาต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7012-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณัทพล ศรีระพันธุ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด