กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลท่างิ้ว อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์



หัวหน้าโครงการ
นายกตัญญ์วัฒน์ สวัสดิผล




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนครสวรรค์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่างิ้ว อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่างิ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เช่น การส่งเสริมการออกกำลังกาย การเสริมสร้างสมาธิ การรู้จักเรียนรู้ในการประเมินกับอุปสรรคเส้นทางที่ต้องเจอการประเมินระยะทาง ช่วยฝึกสายตาการแยกแยะสี การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง ใช้ขาออกแรง พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ส่งเสริมบุคลิกภาพในการยืน การเดิน สร้างความสุข สนุกสนานให้แก่เด็กปฐมวัย ผ่านกิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike (2) เพื่อสร้างความรู้ ความตระหนักและปลูกจิตสำนึกให้แก่นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเรื่องของกฎหมายการจราจร การรักษาวินัยในการขับขี่ การรู้จักป้องกันตัวเองให้ปลอดภัยขณะขับขี่ยานพาหนะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (2) ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการฯ (3) จัดอบรมโครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...1234

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้ขอความร่วมมือจังหวัดแจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด ดำเนินการตามแนวทางการจัดกิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike ส่งเสริมพัฒนาการเด็กและปลูกฝังความมีน้ำใจนักกีฬา เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสได้เล่นจักรยานขาไถ Balance Bike เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย เด็กมีสมาธิมากขึ้น รู้จักเรียนรู้ในการประเมินกับอุปสรรคเส้นทางที่ต้องเจอการประเมินระยะทาง ช่วยฝึกสายตาการแยกแยะสี การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง ใช้ขาออกแรง พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ส่งเสริมบุคลิกภาพในการยืน การเดิน สร้างความสุข สนุกสนานให้แก่เด็กปฐมวัย รวมทั้งสานสัมพันธ์ความรักในครอบครัว
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 4.5 การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด้าน กาย ใจ สติปัญญา และสังคม มุ่งเน้นการเสริมสร้างการจัดการสุขภาวะในทุกรูปแบบ ที่นำไปสู่การมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะที่ดีได้ด้วยตนเองพร้อมทั้งสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมให้คนไทยมีสุขภาพวะที่ดี และมีทักษะด้านสุขภาวะที่เหมาะสม (ที่มา : ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 (ฉบับประกาศราชกิจจานุเบกษา) หน้าที่ 35) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เป้าหมายที่ 3 สร้างหลักประกันสุขภาวะที่ดี และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับทุกคนในทุกช่วงวัย ซึ่งเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาจังหวัดนครสวรรค์ (พ.ศ. 2566-2570 ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประเด็นการพัฒนาที่ 6 ยกระดับการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง และแผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ. 2566-2570 ฉบับทบทวน ครั้งที่ 1/2566 ประจำปีงบประมาณ 2566 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการศึกษา การสาธารณสุข และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ประกอบกับ ข้อ 2แนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 กำหนดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2.4 การส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในเด็กแรกเกิด เด็กเล็ก และเด็กก่อนวัยเรียน, 2.12 การสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กดี 2.13 การส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนา เด็กเล็กและข้อ 7.3 แนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 กำหนดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอุบัติเหตุ เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันที่ปลอดภัย ทั้งภายในบ้าน ในโรงเรียน ในสถานประกอบการ และในชุมชน รวมถึงการลดอุบัติเหตุจากการเดินทางและการจราจร เช่น การส่งเสริมการขับขี่อย่างปลอดภัย ถูกกฎจราจร และลดความเสี่ยงจากอุบัติเหตุในการเดินทาง และการณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุและสร้างความปลอดภัยภายในบ้าน ในโรงเรียน ในสถานประกอบการ และในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลท่างิ้วเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 2 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่างิ้ว และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองน้ำเขียวจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เช่น การส่งเสริมการออกกำลังกาย การเสริมสร้างสมาธิ การรู้จักเรียนรู้ในการประเมินกับอุปสรรคเส้นทางที่ต้องเจอการประเมินระยะทาง ช่วยฝึกสายตาการแยกแยะสี การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง ใช้ขาออกแรง พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ส่งเสริมบุคลิกภาพในการยืน การเดิน สร้างความสุข สนุกสนานให้แก่เด็กปฐมวัย ผ่านกิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike
  2. เพื่อสร้างความรู้ ความตระหนักและปลูกจิตสำนึกให้แก่นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเรื่องของกฎหมายการจราจร การรักษาวินัยในการขับขี่ การรู้จักป้องกันตัวเองให้ปลอดภัยขณะขับขี่ยานพาหนะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
  2. ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการฯ
  3. จัดอบรมโครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมพัฒนาการผ่านกิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike
  2. เด็กปฐมวัยได้รับความรู้เรื่องของกฎหมายการจราจร การรักษาวินัยในการขับขี่ การรู้จักป้องกันตัวเองให้ปลอดภัยขณะขับขี่ยานพาหนะ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะกรรมการโครงการฯ เพื่อจัดทำโครงการฯ เพื่อนำเสนอพิจารณา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการฯ ผ่านการพิจารณา จากคณะกรรมการกองทุนฯ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2566

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1 2 3

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เช่น การส่งเสริมการออกกำลังกาย การเสริมสร้างสมาธิ การรู้จักเรียนรู้ในการประเมินกับอุปสรรคเส้นทางที่ต้องเจอการประเมินระยะทาง ช่วยฝึกสายตาการแยกแยะสี การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง ใช้ขาออกแรง พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ส่งเสริมบุคลิกภาพในการยืน การเดิน สร้างความสุข สนุกสนานให้แก่เด็กปฐมวัย ผ่านกิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมพัฒนาการผ่านกิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike
0.00 56.00

1 2

2 เพื่อสร้างความรู้ ความตระหนักและปลูกจิตสำนึกให้แก่นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเรื่องของกฎหมายการจราจร การรักษาวินัยในการขับขี่ การรู้จักป้องกันตัวเองให้ปลอดภัยขณะขับขี่ยานพาหนะ
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยได้รับความรู้เรื่องของกฎหมายการจราจร การรักษาวินัยในการขับขี่ การรู้จักป้องกันตัวเองให้ปลอดภัยขณะขับขี่ยานพาหนะ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 66 56
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 6 6
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เช่น การส่งเสริมการออกกำลังกาย การเสริมสร้างสมาธิ การรู้จักเรียนรู้ในการประเมินกับอุปสรรคเส้นทางที่ต้องเจอการประเมินระยะทาง ช่วยฝึกสายตาการแยกแยะสี การใช้มือและแขนเพื่อบังคับทิศทาง ใช้ขาออกแรง พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ส่งเสริมบุคลิกภาพในการยืน การเดิน สร้างความสุข สนุกสนานให้แก่เด็กปฐมวัย ผ่านกิจกรรมจักรยานขาไถ Balance Bike (2) เพื่อสร้างความรู้ ความตระหนักและปลูกจิตสำนึกให้แก่นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเรื่องของกฎหมายการจราจร การรักษาวินัยในการขับขี่ การรู้จักป้องกันตัวเองให้ปลอดภัยขณะขับขี่ยานพาหนะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (2) ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการฯ (3) จัดอบรมโครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...1234

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567

ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ เด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นครสวรรค์

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกตัญญ์วัฒน์ สวัสดิผล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด