กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา


“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปากในประชาชนเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนริศรา พรมจิ๋ว

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปากในประชาชนเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปากในประชาชนเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปากในประชาชนเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปากในประชาชนเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

​ปัจจุบันโรคมะเร็งได้กลายเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลกเป็นสาเหตุการเสียชีวิต 1 ใน 3 อันดับแรกของประชาชนทั่วโลกในส่วนของประเทศไทยพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยมะเร็งที่พบมากที่สุดคือมะเร็งเต้านมมะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งช่องปาก ตามลำดับโดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรีระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลามการรักษาจึงเป็นไปได้ยากต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ HPV DNA Test และวิธี Pap Smear ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกจะง่ายสะดวกราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ HPV DNA Test และวิธี Pap Smear ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปีทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้และโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ โรคมะเร็งเต้านม และมะเร็งช่องปากผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้นดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นหามะเร็งต่างๆเหล่านี้ในระยะเริ่มต้นซึ่งวิธีการคัดกรองมะเร็งเต้านมที่ง่ายที่สุดคือการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่คือการตรวจด้วยแผ่นFit testและการตรวจคัดกรองมะเร็งช่องปากด้วยการตรวจหารอยโรคในช่องปาก ซึ่งในปัจจุบันการรักษามะเร็งชนิดต่างๆมีความก้าวหน้าไปมากการค้นพบมะเร็งในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้และการรักษาอาจทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออกไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทั้งหมดในทางตรงกันข้ามหากไม่มีการตรวจค้นหามะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มต้นรอจนกระทั่งมีอาการผิดปกติมะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆแล้วและไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ส่วนโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นโรคมะเร็งที่พบได้บ่อยเป็นอันดับต้น ๆ ในคนไทยและอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในปัจจุบันการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่สำหรับกลุ่มเสี่ยงตามแนวทางเวชปฏิบัติทำให้ตรวจพบความผิดปกติและรักษาได้ตั้งแต่ในระยะก่อนเป็นมะเร็งหรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรกซึ่งพบว่าสามารถลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้อย่างชัดเจนซึ่งกลุ่มเสี่ยงคือประชาชนอายุ 50-70 ปีซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอัตราการป่วยสูงควรได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและเพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม ​ผลการดำเนินงานการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตำบลท่าเสาพบว่าปี 2563 – 2567 (ผลงานสะสม 5 ปี) สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 60 ปีจำนวน 155 คนได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 14.19 และในปี 2566 สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 70ปี จำนวน 262 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจำนวน 254 คน คิดเป็นร้อยละ 96.94 และผลการคัดกรองในปี 2566 ที่ผ่านมาพบสงสัยมะเร็งเต้านม 2 คน ไม่พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่และไม่พบผลตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกผิดปกติและในปี 2566 ประชาชนอายุ 50-70 ปีได้รับกาตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ จำนวน 71 คนคิดเป็นร้อยละ 25.44 พบผลผิดปกติจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5.63 และในรายที่ผลการตรวจคัดกรองผิดปกติได้ส่งต่อพบแพทย์ที่โรงพยาบาลโพทะเลเพื่อทำตรวจคัดกรองตามวิธีการตรวจของแพทย์อีกครั้งและทำการรักษาต่อได้ทันท่วงที ส่วนมะเร็งช่องปากไม่มีการตรวจคัดกรองในปีงบประมาณ 2566 แต่มีการพบผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งเหล่านี้ทุกปีและส่วนใหญ่จะพบในระยะท้ายของการเจ็บป่วยทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตทุกราย ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเสาได้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมสุขภาพการคัดกรองสุขภาพคัดกรองด้านมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปาก แก่ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าเสาโดยหวังว่าจะสามารถค้นพบกลุ่มเสี่ยงมะเร็งปากมดลูกรวมถึงกลุ่มเสี่ยงที่ตรวจพบก้อนหรือความผิดปกติที่เต้านมหรือลำไส้ใหญ่ หรือรอยโรคในช่องปากได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อให้การรักษาอย่างถูกต้องและรวดเร็ว สามารถรักษาผู้ป่วยได้ทันเวลาเพื่อเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งต่างๆเหล่านี้ในระยะยาวต่อไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเสาจึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปากในประชาชนเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2567 เพื่อเสนอขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าเสา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  2. 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไปอายุ 30-70 ปีเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปาก
  3. 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มความรู้กลุ่มเป้าหมายในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นเตรียมการ
  2. ขั้นเตรียมการ
  3. ขั้นเตรียมการ
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  5. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  6. ตรวจเต้านม
  7. ตรวจมะเร็งลำไส้
  8. เจาะเลือด
  9. สรุปผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 253
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

​1.เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 2.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปอายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 3. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปอายุ 50-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองลำไส้ใหญ่ 4.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปอายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งตับและมะเร็งปอด 5.สามารถลดอัตราป่วยตายจากโรคมะเร็งเต้านมโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไส้ใหญ่และมะเร็งในช่องปากจากปีที่ผ่านมา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
80.00

 

2 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไปอายุ 30-70 ปีเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปาก
ตัวชี้วัด : 2.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปอายุ 30-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
90.00

 

3 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มความรู้กลุ่มเป้าหมายในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปาก
ตัวชี้วัด : 3. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปอายุ 50-70 ปีได้รับการตรวจคัดกรองลำไส้ใหญ่
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 253
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 253
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (2) 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไปอายุ 30-70 ปีเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปาก (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มความรู้กลุ่มเป้าหมายในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นเตรียมการ (3) ขั้นเตรียมการ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ (5) ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (6) ตรวจเต้านม (7) ตรวจมะเร็งลำไส้ (8) เจาะเลือด (9) สรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งช่องปากในประชาชนเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนริศรา พรมจิ๋ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด