กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ปี 2567 (VR1) ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายดานิช ดิงปาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ปี 2567 (VR1)

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ ุึ67-L2480-1-05 เลขที่ข้อตกลง 15/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ปี 2567 (VR1) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ปี 2567 (VR1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ปี 2567 (VR1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ุึ67-L2480-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,915.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยาเสพติดเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อคนทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อบุคคล ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติ ยาเสพติดเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบอย่างกว้างขวางทั้งต่อปัจเจกบุคคลและสังคม ส่วนรวมในมิติ ต่างๆ มีผลกระทบโดยตรงต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพติด โดยผู้เสพติดส่วนใหญ่จะมีบุคลิกภาพก้าวร้าว ต่อต้านสังคม และพึ่งพาคนอื่น เยาวชน คืออนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกําลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติด ที่ได้เริ่ม แพร่ระบาดและกําลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติด ในปัจจุบัน เป็น ผลให้เยาวชนหลงผิดเข้าสู่วงจรการซื้อขาย และเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสําคัญ ในการพัฒนาประเทศ และ เป็นการทําลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศ ให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อ ความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบําบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยัง เป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นํามาซึ่งความรุนแรงใน ครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีก มากมาย ซึ่งทําให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ซึ่งปัจจุบันนี้รัฐบาลได้กําหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็น วาระแห่งชาติ และกําหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการ ขับเคลื่อนงานยาเสพติด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านปิเหล็ง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าโครงการ เป็นหนึ่งโดยไม่พึงยามีความสําคัญและควรจัดให้เยาวชนมีทางออกที่ไม่ต้องพึ่งยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างแกนนําเม็ดพันธ์ใหม่ด้านการป้องกัน ยาเสพติด
  2. 2.เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับบริการที่มีคุณภาพ
  3. 3.เพื่อให้ผู้ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการติดตามและดูแลสุขภาพตามมาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น”
  2. 2.กิจกรรม“เมล็ดพันธุ์ใหม่แกนนําเยาวชน” ในกลุ่มแกนนําวัยรุ่นอายุ 14-24 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 55
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.วัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลละติดตาม 2.เกิดแกนนําวัยรุ่นในพื้นที่ 3.มีการขับเคลื่อนคลินิกศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น 4.เกิดการขับเคลื่อนชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างแกนนําเม็ดพันธ์ใหม่ด้านการป้องกัน ยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของแกนนําเยาวชนมีระดับความรู้ ทัศนคติ และการ ปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ใน ระดับดี
80.00 1.00

 

2 2.เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับบริการที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมี ระดับความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในเรื่องการป้องกันยาเสพติด หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดี
80.00 1.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการติดตามและดูแลสุขภาพตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับการดูแลสุขภาพในคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใกล้บ้านใกล้ใจ รพ.สต.บ้านปิเหล็ง
80.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 55
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างแกนนําเม็ดพันธ์ใหม่ด้านการป้องกัน ยาเสพติด (2) 2.เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงได้รับบริการที่มีคุณภาพ (3) 3.เพื่อให้ผู้ผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการติดตามและดูแลสุขภาพตามมาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น” (2) 2.กิจกรรม“เมล็ดพันธุ์ใหม่แกนนําเยาวชน” ในกลุ่มแกนนําวัยรุ่นอายุ 14-24 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ปี 2567 (VR1) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ ุึ67-L2480-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดานิช ดิงปาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด