กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พระหลวง


“ ส่งเสริมสุขภาพกายโดยการใช้ศิลปะพื้นบ้าน ”

ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพระหลวง

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพกายโดยการใช้ศิลปะพื้นบ้าน

ที่อยู่ ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพกายโดยการใช้ศิลปะพื้นบ้าน จังหวัดแพร่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พระหลวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพกายโดยการใช้ศิลปะพื้นบ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพกายโดยการใช้ศิลปะพื้นบ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พระหลวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน รัฐบาลได้กำหนดให้การเตรียมความพร้อมสังคมไทยสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และมีการจัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ไว้แล้ว การที่รัฐ ต้องกำหนดแผนงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุไว้อย่างเป็นทางการนั้น เป็นเพราะการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างทางประชากรของประเทศ แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับภาวการณ์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ของประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปีและมากกว่า) การประมาณการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ โดยองค์การสหประชาชาติระหว่างปี พ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2593 แสดงว่า เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนประชากรไทยทั้งหมดในปี พ.ศ. 2523 ร้อยละการเพิ่มขึ้นของประชากรสูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 47 ในปี พ.ศ. 2533 และเพิ่มขึ้นเป็นประมาณร้อยละ 770 ในปี พ.ศ. 2593 (ศิริวรรณ ศิริบุญ และ ชเนตตี มิลินทางกูร นักวิจัย วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ; 1551.) จากจำนวนประชากรกลุ่ม อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง ถึงมาก 150 นาที/สัปดาห์ /กลุ่มผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง ถึงมาก 150 นาที/สัปดาห์ ผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นและมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคเรื้อรังต่างๆ อีกทั้งยังส่งผลต่อสุขภาพทางจิตใจมีความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลพระหลวง ได้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุเกิดโรคเรื้อรังดังที่กล่าวมา โดยจะต้องเริ่มตั้งแต่ก่อนเข้าวัยผู้สูงอายุตั้งแต่วัยทำงานขึ้นไป จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุในปีงบประมาณ 2559 พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการดำเนินงาน คือการรำบั๊ดสะหลบ ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพระหลวง จึงจัดทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตโดยใช้ศิลปะพื้นบ้าน กิจกรรมเข้าจังหวะด้วยเสียงเพลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพิ่มจำนวนคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกาย
  2. 2.เต้นออกกำลังกายโดยใช้เพลงพื้นบ้าน
  3. สาธิตการรำไม้พลอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพแข็งแรงมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกาย

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และทำการประเมินสมรรถภาพทางกายก่อนเข้าร่วมกิจรรม ชี้แจงแนวทางการจัดกิจกรรมเข้าจังหวะด้วยเสียงเพลงแก่สมาชิก ตรวจสุขภาพเบื้องต้น
ค่าอาหารและอาหารว่าง120x50=6000.00 บาท ค่าวิทยากร 1200.00

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คนและนัดหมายจัดกิจกรรมเข้าจังหวะด้วยเสียงเพลง ณ ลานโพธิ์หน้าวัดพระหลวงสัปดาห์ละ3 วัน เวลา18.00-19.00น.

 

50 0

2. เต้นออกกำลังกายเข้าจังหวะด้วยเสียงเพลงโดยใช้เพลงพื้นบ้าน

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

2.เต้นออกกำลังกายเข้าจังหวะด้วยเสียงเพลงโดยใช้เพลงและท่ารำพื้นบ้าน  ค่าวิทยากรฝึกท่่ารำเดือนละ3 ครั้งๆละ1 ชั่วโมง จำนวน 18 ครั้งๆละ600บาท=10,800บาท ค่านำ้ดื่ม 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิก50 คนมาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ3วันๆละ 1ชั่วโมง จำนวน 24 สัปดาห์ เฉลี่ยครั้งละ 45คน คิดเป็นร้อยละ 90 และการออกกำลังกายของทีมสามารถส่งตัวแทนเข้าร่วมแสดงในการสมโภชวัดพระหลวงได้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
65.00 64.00

จากสำรวจของรพสต.พระหลวง

2 เพิ่มจำนวนคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
10.00 15.00 14.00

จากสำรวจของรพสต.พระหลวง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพิ่มจำนวนคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกาย (2) 2.เต้นออกกำลังกายโดยใช้เพลงพื้นบ้าน (3) สาธิตการรำไม้พลอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพกายโดยการใช้ศิลปะพื้นบ้าน จังหวัด แพร่

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพระหลวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด