กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการ 1 ตำบล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2567 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัตติญา คงมาก

ชื่อโครงการ โครงการ 1 ตำบล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3070-1-2 เลขที่ข้อตกลง 8/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 1 ตำบล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 1 ตำบล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 1 ตำบล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3070-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1.1 กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก ทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม โดยประเทศไทย มีอัตราการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อต่ำสุดเมื่อเทียบในกลุ่มประเทศภูมิภาคเอเชียใต้-ตะวันออก (SEARO) จากข้อมูลปีพ.ศ.2559 โรคไม่ติดต่อยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยทั้งในแง่ภาระโรคและอัตราการเสียชีวิตอัตราการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน, ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2557 ถึงปีพ.ศ. 2559 หลังจากนั้น มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยและคงที่ในปีพ.ศ. 2561 โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงที่สุดเท่ากับ 44.3 รายต่อประชากรแสนคน และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ชายสูงกว่าเพศหญิง 1.2 สภาพปัญหา : อุบัติการณ์การเกิดโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่มีแนวโน้มลดลง โดยมีปัจจัยเชิงบวกด้านพฤติกรรม ในประชากรที่ดีขึ้นทั้งในกลุ่มวัยผู้ใหญ่ และวัยรุ่น คือ ความชุกของการสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงเชิงลบที่คุกคามสุขภาพคือการบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล และการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ อาจกล่าวได้ว่าการลดลงของอุบัติการณ์เบาหวาน และภาวะความดันโลหิตสูง เป็นผลจากมาตรการการควบคุม ป้องกันโรค และปัจจัยเสี่ยงของภาวะความดันโลหิตสูงที่ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าในบางช่วงเวลาความชุกของ ปัจจัยเสี่ยง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ทว่ายังคงเป็นการเปลี่ยนแปลงในอัตราที่ไม่มาก นอกจากนั้นอาจสะท้อนว่าควรเพิ่มมาตรการ และ ความเข้มข้นในการดำเนินมาตรการเพื่อปรับแนวโน้มให้เปลี่ยนแปลงมากขึ้น โดยเฉพาะมาตรการด้านการควบคุมการบริโภค อาหารหวาน มัน และเค็ม นอกจากนั้นควรมีการสำรวจข้อมูลสถานการณ์การบริโภคอาหารและปริมาณโซเดียมที่บริโภคต่อวันอย่างต่อเนื่อง 1.3 ความเร่งด่วน / ผลที่คาดหวัง : จากสถานการณ์ดังกล่าว จึงมีความจำเป็นต้องมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ไขปัญหา เฝ้าระวัง ติดตามกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ป้องกันไม่ให้ป่วย และกลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคได้ เกิดเครือข่ายในการดูแลสุขภาพที่เข้มแข็งโดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพ การพึ่งพาตนเอง รพ.สต.ยาบี จึงได้จัดทำโครงการ 1 ตำบล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2567 โดยใช้กลไกการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพในชุมชน เพื่อขับเคลื่อนงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง ไม่ให้ป่วย และกลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคได้ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเมื่อกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักทางสุขภาพแล้ว จะนำมาซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะการเป็นโรค ชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน ชุมชนเข้มแข็งด้านสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพกันเองในชุมชนได้
      ตำบลยาบี(จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี) ปี 2564 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90.62 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 219 คน ร้อยละ 17.84  สงสัยป่วย 2 ร้อยละ 0.16  และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 10 คน ร้อยละ 0.81 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 98 คน ร้อยละ 8.58 กลุ่มสงสัยป่วย 85 คน ร้อยละ 7.44 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 19 คน ร้อยละ 1.66
ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี) ปี 2565พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90.0 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 201 คน ร้อยละ 16.63 สงสัยป่วย 1 ร้อยละ 0.08 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 8 คน ร้อยละ 0.66 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 95 คน ร้อยละ 8.79 กลุ่มสงสัยป่วย 38 คน ร้อยละ 3.51 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 7 คน ร้อยละ 0.64 ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี) ปี 2566พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 95.38 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 252 คน ร้อยละ 20 สงสัยป่วย 9 ร้อยละ 0.71 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน คน ร้อยละ 0.72 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 111 คน ร้อยละ 9.8 กลุ่มสงสัยป่วย 58 คน ร้อยละ 5.1 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 12 คน ร้อยละ 0.95         จากข้อมูลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี จึงได้เห็นถึงความสำคัญในการการดูแลเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและสามารถลดโรคลดเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดัน จึงได้จัดทำโครงการ 1 ตำบล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2567 ขึ้น โดยเน้นในกลุ่มที่เสี่ยงและเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานและความดันเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังได้ในอนาคตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับแนวทางการปรับเปลี่ยนตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และหลักการ 3 อ 2 ส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลงร้อยละ 5
    1.00

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับแนวทางการปรับเปลี่ยนตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และหลักการ 3 อ 2 ส
    ตัวชี้วัด : 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สีและปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับแนวทางการปรับเปลี่ยนตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และหลักการ 3 อ 2 ส

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ 1 ตำบล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L3070-1-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวรัตติญา คงมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด