กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ


“ โครงการผู้สูงวัยฟันดี มีใช้งาน สุขภาพดี อายุยืน ประจำปี 2561 ”

ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวโสรยา มูสาลี

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัยฟันดี มีใช้งาน สุขภาพดี อายุยืน ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2536-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงวัยฟันดี มีใช้งาน สุขภาพดี อายุยืน ประจำปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัยฟันดี มีใช้งาน สุขภาพดี อายุยืน ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้ถูกต้องและมีฟันที่สามารถใช้งานได้ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจและประเมินสุขภาพช่องปากตนเองได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ -

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุ เป็นประชากรกลุ่มที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในปัจจุบันเป็นกลุ่มเป้าหมายอีกกลุ่มหนึ่งที่ประสบปัญหาสุขภาพนานัปการซึ่งรวมถึงสุขภาพช่องปากที่มีความสัมพันธ์โดยตรงต่อการทำงานของระบบบดเคี้ยวส่งผลต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุโดยรวมปัญหาการเปลี่ยนแปลง หรือความรุนแรงของโรคในช่องปากในประชากรกลุ่มนี้จากการสำรวจของกองทันตสาธารณสุขในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2549 -2550 พบว่าปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 68.8 ซึ่งนอกจากจะเป็นผลจากพฤติกรรม เช่น การทำความสะอาดช่องปาก หรือจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ อาทิเช่นการสูบบุหรี่การเคี้ยวหมากแล้ว ยังเป็นผลกระทบจากโรคทางระบบบางโรค หรือการได้รับยารักษาโรคทางระบบ เป็นระยะเวลายาวนานอีกด้วย จากการสำรวจสภาวะช่องปาก ผู้สูงอายุจังหวัดรนราธิวาส พบว่า ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพช่องปากด้วยโรคปริทันต์ปี 2560คิดเป็นร้อยละ56.46ซึ่งการป้องกันและการควบคุมไม่ให้เกิดความผิดปกติ หรือรอยโรคใหม่ในช่องปาก เพื่อคงสภาพการใช้งานให้ได้ในวัยนี้ เป็นสิ่งจำเป็น ที่ต้องให้ความสำคัญ ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าเรื่องของการให้บริการรักษาและฟื้นฟูสภาพดังนั้นการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องสม่ำเสมอ ทั้งโดยตัวผู้สูงอายุเอง หรือโดยผู้ดูแล จึงเป็นหัวใจสำคัญในการควบคุม ป้องกัน และส่งเสริมการมีสุขภาพช่องปากที่ดี จากการสำรวจสภาวะช่องปาก ปี2560 ในชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ พบว่า ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพช่องปาก คิดเป็นร้อยละ 54.68ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะจึงได้ดำเนินโครงการ “ผู้สูงวัยฟันดี มีใช้งาน สุขภาพดีอายุยืน” ซึ่งมีกิจกรรมให้อบรมให้ความรู้ และบริการ ทันตกรรมผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ทั้งนี้เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกท่าน ได้มีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพเพิ่มขึ้น การมีฟันที่แข็งแรงสามารถใช้บดเคี้ยวได้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ และนำไปปรับใช้ในการสนับสนุน ให้เกิดการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ในชีวิตประจำวัน อันจะนำไปสู่การลดความรุนแรงของโรคในช่องปาก ให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี สมวัย สามารถมีฟันใช้งาน โดยปราศจากความเจ็บปวด ตลอดอายุขัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เพิ่มขึ้น
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้ถูกต้องและมีฟันที่สามารถใช้งานได้
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจและประเมินสุขภาพช่องปากตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 90
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถเผยแพร่ความรู้ได้
    2. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ

    วันที่ 31 มกราคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นดำเนินการ 1. จัดอบรมให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้สูงอายุ จำนวน 90 คน 2. สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี และผู้สูงอายุสาธิตย้อนกลับ 3. ให้ผู้สูงอายุทำแบบทดสอบวัดความรู้ก่อนและหลังให้ทันตสุขศึกษา ขั้นประเมินผล 1. จากการทำ Pre-test – Post-test ในผู้สูงอายุมีความรู้เพิ่มขึ้น
    2. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
    3. จากการสังเกต ผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้ถูกต้อง
    4. สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้สูงอายุเข้าร่วมรับการอบรมจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 100
    2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจฟัน และผู้สูงอายุที่มีฟันถาวรใช้งานได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช เพื่อป้องกันอาการเสียวฟันจากโรคปริทันต์
    3. จากการสังเกต ผู้สูงอายุสามารถตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปากและสามารถดูแลสุขภาพช่องปาก

     

    90 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผู้สูงอายุเข้าร่วมรับการอบรมจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 100
    2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจฟัน และผู้สูงอายุที่มีฟันถาวรใช้งานได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช เพื่อป้องกันอาการเสียวฟันจากโรคปริทันต์
    3. จากการสังเกต ผู้สูงอายุสามารถตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพช่องปากและสามารถดูแลสุขภาพช่องปาก

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุมีความรู้เพิ่มขึ้น
    100.00

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้ถูกต้องและมีฟันที่สามารถใช้งานได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้ถูกต้องและมีฟันที่สามารถใช้งานได้
    100.00

     

    3 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจและประเมินสุขภาพช่องปากตนเองได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุสามารถตรวจและประเมินสุขภาพช่องปากตนเอง
    100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 90
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้ถูกต้องและมีฟันที่สามารถใช้งานได้ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจและประเมินสุขภาพช่องปากตนเองได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ -

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผู้สูงวัยฟันดี มีใช้งาน สุขภาพดี อายุยืน ประจำปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 61-L2536-1-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวโสรยา มูสาลี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด