กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง


“ โครงการโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2567 ”

ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางพัชรี เภอรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1512-05-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1512-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองปาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโรคหนึ่งนับตั้งแต่มีการระบาดครั้งแรกในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2501 จนปัจจุบันผู้ป่วยยังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมีการแพร่กระจายไปทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มี การคมนาคมสะดวก ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก ได้แก่ คน เชื้อก่อโรค ยุงพาหะนำโรค และสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และจากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 9 ธันวาคม 2566 ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 147,412 ราย อัตราป่วย 222.77 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 161 ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ 0.24 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เขต 12 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 14,806 ราย อัตราป่วย 295.89 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 23 ราย อัตราป่วย-ตาย ร้อยละ 0.46 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดตรัง มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 1,080 ราย อัตราป่วย 169.22 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 4 ราย อัตราป่วย-ตาย 0.63 ต่อแสนประชากร สถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอรัษฎา มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.75 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต ตำบลที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคือ      ตำบลเขาไพร คิดเป็นอัตราป่วย 67.02 ต่อแสนประชากร รองลงมาตำบลคลองปาง คิดเป็นอัตราป่วย 46.93 ต่อแสนประชากร รองลงมา ตำบลควนเมา,ตำบลหนองบัวและตำบลหนองปรือ ตามลำดับ จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตำบล คลองปาง พบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออกตำบลคลองปาง จำนวน 18 ราย เขตรับผิดชอบองค์การบริหารส่วนตำบลท้องถิ่นตำบลคลองปางจำนวน 5 ราย หมู่ที่ 3 จำนวน 1 ราย หมู่ที่ 5 จำนวน 2 ราย หมู่ที่ 6 จำนวน 1 ราย หมู่ที่ 9 จำนวน 1 ราย และตำบลคลองปางยังพบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออกที่เป็นนักเรียนในโรงเรียน ขณะป่วยหรือมีอาการฟักตัวอยู่กำลังศึกอยู่โรงเรียนวัดโคกเลียบ โรงเรียนรัษฎา โดยระหว่างระยะฟักตัวของโรคได้เรียนอยู่ที่โรงเรียน ซึ่งเป็นสถานที่เด็กมาอยู่รวมกันในช่วงเวลากลางวัน สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของยุงลายจึงเป็นแหล่งที่มีความเสี่ยงของการเกิดโรคสูงจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อชีวิต ซึ่งในโรงเรียนบ้านควนหนองกกยังไม่พบนักเรียนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก แต่หากไม่มีการป้องกันควบคุมโรคอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง โดยเฉพาะการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นการป้องกันควบคุมโรคที่ต้นเหตุ โดยเร่งด่วนแล้ว อาจส่งผลให้เกิดการระบาดของโรคนี้ในโรงเรียนได้         จากสถานการณ์ที่กล่าวมาข้างต้นประกอบกับพื้นที่เสี่ยงไม่พร้อมให้พ่นหมอกควันทำให้ยากแก่การควบคุมโรค เพื่อความสะดวกในการดำเนินการควบคุมโรคได้ทันเวลา ดังนั้นทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ม.3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง จึงได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการควบคุมโรคไข้เลือดออกที่มีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นในปี 2567 ซึ่งการพ่นหมอกควันเป็นอีกวิธีหนึ่งที่สำคัญของการกำจัดยุงลายตัวแก่และการป้องกันการโดนยุงกัดทั้งผู้ป่วยหรือผู้อาศัยอยู่ร่วมกันมีส่วนช่วยในการควบคุมการระบาดของโรคได้      ด้วยเหตุนี้จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก        รวมทั้งเป็นการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายรวมถึงการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหนะนำ โรคไข้เลือดออกในครัวเรือน หมู่บ้าน วัด โรงเรียน อย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการ โรคระบาดและภัยพิบัติ  โรคไข้เลือดออก ปี 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง
  3. ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาด ในชุมชน 2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่ตำบลคลองปางลดลง     3.ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันไข้เลือดออก     4.เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน

     

    2 ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่ตำบลคลองปางลดลง

     

    3 ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึง การควบคุมป้องกันไข้เลือดออก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) ข้อที่ ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนและเด็กในพื้นที่หมู่ 3,4,5,6,7,8,9 ตำบลคลองปาง (3) ข้อที่ ๓.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนและหน่วยงานเห็นความสำคัญและตระหนักถึงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการโรคระบาดและภัยพิบัติโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1512-05-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพัชรี เภอรักษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด