กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กจมน้ำ ”

องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

หัวหน้าโครงการ
นางเก็จชณัฐ หลงสมัน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กจมน้ำ

ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L8010-1-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กจมน้ำ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กจมน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กจมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง รหัสโครงการ 2567-L8010-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 132,807.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เมื่อ 3 มีนาคม 2566 กรมควบคุมโรค เผยสถิติเด็กจมน้ำเสียชีวิตช่วงฤดูร้อนและเป็นเด็กปิดเทอม เด็กๆ อาจชวนกันไปเล่นนำตามลำพัง โดยการขาดการดูแลจากผู้ปกครอง ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจมน้ำได้ ข้อมูลในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2561-2565) มีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำเสียชีวิตในช่วงฤดูร้อน ซึ่งตรงกับช่วงปิดเทอม (เดือนมีนาคม - พฤษภาคม) จำนวน 953 ราย เฉลี่ยวันละ 2 ราย เดือนเมษายน พบเหตุการณ์จมน้ำมากที่สุด 65 ราย รองลงมาคือ เดือนมีนาคม 64 ราย และเดือนพฤษภาคม 63 ราย โดยมีจังหวัดที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิ่ตมากกว่า 10 ราย ถึง 40 จังหวัด เสียชีวิต 6-10 ราย มี 19 จังหวัด เสียชีวิต 2-5 ราย มี 16 จังหวัด และมีเพียง 2 จังหวัดที่เสียชีวิตน้อยกว่า 2 ราย ได้แก่ จังหวัดระนอง และลำพูน แหล่งน้ำที่พบว่าเด็กจมน้ำมากที่สุด คือ แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ร้อยละ 76.5) เขื่อนอ่างเก็บน้ำ/ฝาย (11.1) ทะเล (5.3) ภาชนะภายในบ้าน (3.5) และสระว่ายน้ำ/สวนน้ำ (1.8) โดยสาเหตุหลักเกิดจากการเล่นน้ำมากที่สุด (ร้อยละ59.4) รองลงมาคือ พลัดตกลื่น (21.5) ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ คือ ขาดการดูแลจากผู้ปกครอง และขาดความรู้เรื่องแหล่งน้ำเสี่ยง ทั้งนี้ 10 จังหวัดแรกที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงที่สุดในช่วงฤดูร้อน ปี 2561 ถึง 2565 ได้แก่ บุรีรัมย์ (45 ราย) อุดรธานี (38 ราย) นครราชสีมา (37 ราย) สุรินทร์ (30 ราย) ร้อยเอ็ด (28 ราย) สกลนคร (28 ราย) นครสวรรค์ (26 ราย) ขอนแก่น (25 ราย) นครศรีธรรมราช (25 ราย) และปัตตานี (24 ราย) โดย 7 ใน 10 จังหวัดอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มอายุที่จมน้ำเสียชีวิตสูงที่สุด คือเด็กอายุ 5-9 ปี (ร้อยละ 42.1) รองลงมาคือ อายุ 0-4 ปี (31.5) และอาย 10-14 ปี (26.4) เพศชายจมน้ำสูงกว่าเพศหญิงถึง 2.2 เท่าตัว
จากสถานการณ์ที่ผ่านมาในเขตพื้นที่อำเภอละงู มีเด็กได้รับอุบัติเหตุจากการเล่นน้ำและจมน้ำเสียชีวิต ประมาณ 5 ราย/ปี เนื่องจากในพื้นที่ดังกล่าวมีแหล่งน้ำที่เด็กสามารถเล่นน้ำได้ โดยผู้ปกครองอาจจะไม่ทราบและไม่ตระหนักถึงสาเหตุการเสียชีวิตของบุตรหลาน จากการจมน้ำ หากเด็กตระหนักรู้ถึงอันตรายของการเล่นน้ำ และการช่วยเหลือตนเองหรือช่วยเหลือเพื่อนเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่คาดไม่ถึง นอกจากนี้ควรมีผู้ปกครองที่สามารถช่วยเหลือเด็กที่เกิดอุบัติเหตุจากูการเล่นน้ำ และนำส่งโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ทันถ่วงที ซึ่งจะทำให้ลดอัตราการตายจากการจมน้ำได้ ดังนั้นสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง โดยงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการว่ายน้ำและเอาชีวิตรอดในน้ำ ทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กจมน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีองค์ความรู้ความปลอดภัยทางน้ำ และมีพื้นฐานในการว่ายน้ำเอาชีวิตรอด ผู้ปกครองและชุมชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือคนจมน้ำ สามารถ ให้การช่วยเหลื้อปฐมพยาบาลเบื้องตันได้ และมีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ของตนเองได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่่อให้เด็กในพื้นที่มีความรู้ความปลอดภัยทางน้ำ และมีพื้นฐานในการว่ายน้ำเอาชีวิตรอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รับสมัครแกนนำหรือเด็กที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
  2. ชั่วโมงการเรียนรู้ อบรมการว่ายน้ำและการเอาชีวิตรอดทางน้ำ
  3. ชั่วโมงการปฎิบัติ ฝึกอบรมการว่ายน้ำและการเอาชีวิตรอดทางน้ำ
  4. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้จุดเสี่ยงอันตรายในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง
  5. ประชุม ชี้แจง จัดตั้งคณะทำงานของโครงการ
  6. กิจกรรมถอดบทเรียน
  7. สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ไม่มีเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ 2.แหล่งน้ำในพื้นที่มีป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่่อให้เด็กในพื้นที่มีความรู้ความปลอดภัยทางน้ำ และมีพื้นฐานในการว่ายน้ำเอาชีวิตรอด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เด็กและเยาวชนมีความรู้และทักษะการฝึกหัดว่ายน้ำ การเอาชีวิตรอดจากการตกน้ำเพิ่มขึ้น
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่่อให้เด็กในพื้นที่มีความรู้ความปลอดภัยทางน้ำ และมีพื้นฐานในการว่ายน้ำเอาชีวิตรอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รับสมัครแกนนำหรือเด็กที่สนใจเข้าร่วมโครงการ (2) ชั่วโมงการเรียนรู้ อบรมการว่ายน้ำและการเอาชีวิตรอดทางน้ำ (3) ชั่วโมงการปฎิบัติ ฝึกอบรมการว่ายน้ำและการเอาชีวิตรอดทางน้ำ (4) ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้จุดเสี่ยงอันตรายในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง (5) ประชุม ชี้แจง จัดตั้งคณะทำงานของโครงการ (6) กิจกรรมถอดบทเรียน (7) สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กจมน้ำ จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L8010-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเก็จชณัฐ หลงสมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด