โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่ ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุขศิริ ไตรสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
ธันวาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2567-L8010-2-08 เลขที่ข้อตกลง 12/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2567-L8010-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาเด็กอ้วนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พบว่า ในปีพ.ศ. 2559-2563 มีเด็กอ้วนเพิ่มขึ้นปีละ 4 ล้านคนสอดคล้องกับสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กไทยในฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 พบเด็กอ้วนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงเด็กสูงสมส่วน ยังต่ำกว่าค่าเป้าหมายและมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และเด็กเตี้ยสูงกว่าค่าเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง
ปัจจุบันภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นภัยคุกคามภาวะสุขภาพอนามัยของเด็กไทย ซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กในวัยเรียนเป็นอย่างมาก การบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีวิตทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโรคอาหารประเภทอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรรูป เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทันสมัย ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง เป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอ้วน ซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกฝ่ายควรใส่ใจและแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกันอย่าง จริงจัง จากการสํารวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในเด็กไทยพบว่าเด็กไทยทุก ๆ 5 คน ที่เป็นโรคอ้วน กลายเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหืดหอบ โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็งและโรคหัวใจ เป็นต้น โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและบริเวณชุมชนรอบข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนมาตลอด ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกัน ให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่าที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป โดยมีข้อมูลในปี 2566 มีนักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการคิดเป็นร้อยละ 25 จากนักเรียนจำนวน 144 คน โดยมีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 15.28 และมีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 9.7 จึงจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพราะยังมีนักเรียนที่อ้วน ผอมอยู่ เด็กกลุ่มนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจ และความมีวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ขาดการออกกำลังกายและมีสภาวะทางอารมณ์ที่ยังไม่เอื้อต่อพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ซึ่งหลัก 3อ มีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในการที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ให้ลดน้อยลงหรือหมดไปจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน และเพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านไสใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการ "ส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดี"ขึ้นมา เพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านไสใหญ่ลดลงและหมดไปในที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน
- สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน
- ติดตามประเมินผล
- ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์ ) ให้กับนักเรียน
- รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
27
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
118
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ
- เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ
- นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์ ) ให้กับนักเรียน
วันที่ 16 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
3.1 ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และครบ 5 หมู่ (ลดอาหารหวาน มัน เค็ม)
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการ แก่ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์
- ดูแล ควบคุมการรับประทานอาหารกลางวันนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์โดยเพิ่มและลดปริมาณอาหารตามกลุ่มที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
3.2. สร้างแกนนำนักเรียน เพื่อเป็นแกนนำในการออกกำลังกาย และทำกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียนคนอื่นๆ
3.3 ส่งเสริมสภาวะที่ดีทางด้านอารมณ์ให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
จัดทำกิจกรรมเสริมสร้างสมาธิที่ดีให้กับนักเรียน เช่น นั่งสมาธิฟังนิทานฟังเสียงดนตรีบรรเลงในช่วงเวลาพักกลางวัน หรือก่อนกลับบ้านเป็นเวลา 15 นาที ทุกวัน
จัดเวลาทำกิจกรรมทางกายที่เสริมสร้างสมาธิอื่นๆ เช่นงานประดิษฐ์ร้อยลูกปัด เต้นรำ ลีลาสกิจกรรมเข้าจังหวะเพลงในคาบวิชาชุมนุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดกิจกรรมเสริมสร้างสมาธิที่ดีให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ เช่น นั่งสมาธิ ฟังนิทาน หรือฟังเพลง ดนตรีบรรเลง ในช่วงเวลาพักกลางวัน หรือก่อนกลับบ้านเป็นเวลา 15 นาทีทุกวัน โดยมีผลการสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมคิดเป็นร้อยละ 90
0
0
2. ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมครั้งที่ 1 ชี้แจงรายละเอียดโครงการ งบประมาณและกิจกรรม ปรึกษาหารือวางแผนการดำเนินงานโครงการ
2.ประชุมครั้งที่ 2 รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เพื่อหาแนวทางแก้ไข
3.ประชุมครั้งที่ 3 สรุปผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ ร้อยละ 100 เข้าร่วมประชุมและรับทราบการจัดกิจกรรมตามโครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดี โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ตามระเบียบวาระการประชุมที่กำหนด
0
0
3. สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
2.1. คัดเลือก อสม.น้อยในโรงเรียนจำนวน 10 คน โดยคณะกรรมการ
2.2. สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังด้านสุขภาพ และอบรมให้ความรู้
2.3 แกนนำ อสม.น้อยร่วมกับคณะครู ติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและบันทึกผล เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง
2.4 แกนนำ อสม.น้อย รายงานผลการติดตามและแจ้งให้คณะครูทราบ พร้อมทั้งลงเยี่ยมบ้านนักเรียนและแจ้งผลให้ผู้ปกครองทราบ
2.5 โรงเรียนขอความร่วมมือจากร้านค้า สหกรณ์ จำหน่ายอาหารคุณภาพให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- คัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 5 เพื่อเข้าร่วมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ อสม.น้อย ในโรงเรียน จำนวน 10 คน
- การจัดอบรมหลักสูตร อสม.น้อยในโรงเรียน โดยการทดสอบความรู้ก่อนการอบรมและประเมินผลหลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท อสม.น้อยคิดเป็นร้อยละ 60 และหลังการอบรม นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท อสม.น้อยคิดเป็นร้อยละ 80
- แกนนำ อสม.น้อย ร่วมกับคณะครูติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงและบันทึกผลเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง
- แกนนำ อสม.น้อย รายงานผลการติดตามและแจ้งให้ครูและผู้ปกครองทราบ จากผลการรายงาน พบว่า นักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 50 และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงคิดเป็นร้อยละ 20
- โรงเรียนขอความร่วมมือจากร้านค้า สหกรณ์ จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพให้กับนักเรียน จากผลการดำเนินงาน พบว่า สหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนบ้านไสใหญ่ จำหน่ายอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 100 และร้านค้า รถสามล้อ หน้าโรงเรียน จำหน่ายอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนเพิ่มมากขึ้น
0
0
4. ติดตามประเมินผล
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทำการสำรวจค่า BMI ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกๆ 1 เดือน เป็นเวลา 4 เดือน
สรุปข้อมูลจากสมุดบันทึกภาวะโภชนาการ โดยอสม.น้อย
ถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จากการสำรวจค่า BMI ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกๆ 1 เดือน เป็นเวลา 4 เดือน
เดือนที่ 1 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 20
เดือนที่ 2 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 30
เดือนที่ 3 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 40
เดือนที่ 4 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 50
- สรุปข้อมูลจากสมุดบันทึกภาวะโภชนาการ โดยครูและ อสม.น้อย
เดือนที่ 1 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 20
เดือนที่ 2 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 30
เดือนที่ 3 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 40
เดือนที่ 4 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 50
3.ถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม จากผลการถอดบทเรียน
จุดแข็งคือ นักเรียนให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆเป็นอย่างดี เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย
จุดอ่อนคือ นักเรียนบางคนยังไม่สามรถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ทั้งหมด เนื่องจากขาดการดูแลอย่างต่อเนื่องเมื่อกลับถึงบ้าน จึงต้องใช้เวลาในการดำเนินการที่ยาวนานกว่านี้
ข้อเสนอแนะ ควรดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในด้านสุขภาพ
0
0
5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วันที่ 1 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง
จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รูปเล่มรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการฉบับสมบูรณ์ จำนวน 2 เล่ม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน
คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ ร้อยละ 100 เข้าร่วมประชุมและรับทราบการจัดกิจกรรมตามโครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดี โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ตามระเบียบวาระการประชุมที่กำหนด
กิจกรรมที่ 2 สร้างแกนนำ อสม. น้อยในโรงเรียน
2.1 คัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 5 เพื่อเข้าร่วมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ อสม.น้อย ในโรงเรียน จำนวน 10 คน
2.2 การจัดอบรมหลักสูตร อสม.น้อยในโรงเรียน โดยการทดสอบความรู้ก่อนการอบรมและประเมินผลหลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท อสม.น้อยคิดเป็นร้อยละ 60 และหลังการอบรม นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท อสม.น้อยคิดเป็นร้อยละ 80
2.3 แกนนำ อสม.น้อย ร่วมกับคณะครูติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงและบันทึกผลเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง
2.4 แกนนำ อสม.น้อย รายงานผลการติดตามและแจ้งให้ครูและผู้ปกครองทราบ จากผลการรายงาน พบว่า นักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 50 และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงคิดเป็นร้อยละ 20
2.5 โรงเรียนขอความร่วมมือจากร้านค้า สหกรณ์ จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพให้กับนักเรียน จากผลการดำเนินงาน พบว่า สหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนบ้านไสใหญ่ จำหน่ายอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 100 และร้านค้า รถสามล้อ หน้าโรงเรียน จำหน่ายอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนเพิ่มมากขึ้น
กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยหลัก 5 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์) ให้กับนักเรียน
3.1 ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และครบ 5 หมู่ (ลดหวาน มัน เค็ม)
3.1.1 นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการที่เหมาะสมในเด็กวัยเรียน จากการทำแบบทดสอบก่อน - หลังอบรม เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 90
- ผู้ปกครอง นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ และมีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้ความเข้าใจในหลักโภชนาการที่เหมาะสมในเด็กวัยเรียนมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80
- อสม.น้อยในโรงเรียนร้อยละ 90 มีความรู้เกี่ยวกับการโภชนาการที่เหมาะสมในเด็กวัยเรียน มากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80
3.1.2 นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 50 และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ลดลงคิดเป็นร้อยละ 20
3.2 สร้างแกนนำนักเรียน เพื่อเป็นแกนนำในการออกกำลังกาย และทำกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียนคนอื่นๆ
3.2.1 สร้างนักเรียนแกนนำ (อสม.น้อย) 5 กลุ่ม กลุ่มละ 2 คน และครูกลุ่มละ 2 คน เป็นผู้ควบคุมดูแลนักเรียนทุกคนให้ทำกิจกรรมการออกกำลังกาย โดยแยกออกเป็นกลุ่มกีฬา 5 กลุ่ม คือ 1) ฟุตบอล 2) วอลเล่ย์บอล 3) เปตอง 4) กิจกรรมเข้าจังหวะ 5) กีฬาพื้นบ้าน นักเรียนทุกคนมีการออกกำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 100 และเน้นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ มีการออกกำลังกายทุกวันหลังเวลาลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ คิดเป็นร้อยละ 100
3.3 ส่งเสริมภาวะที่ดีทางด้านอารมณ์ให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
3.3.1 จัดกิจกรรมเสริมสร้างสมาธิที่ดีให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ เช่น นั่งสมาธิ ฟังนิทาน หรือฟังเพลง ดนตรีบรรเลง ในช่วงเวลาพักกลางวัน หรือก่อนกลับบ้านเป็นเวลา 15 นาทีทุกวัน โดยมีผลการสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมคิดเป็นร้อยละ 90
กิจกรรมที่ 4 ติดตามประเมินผล จากการดำเนินกิจกรรม
4.1.1 จากการสำรวจค่า BMI ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกๆ 1 เดือน เป็นเวลา 4 เดือน
เดือนที่ 1 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 20
เดือนที่ 2 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 30
เดือนที่ 3 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 40
เดือนที่ 4 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 50
4.1.2 สรุปข้อมูลจากสมุดบันทึกภาวะโภชนาการ โดยครูและ อสม.น้อย
เดือนที่ 1 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 20
เดือนที่ 2 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 30
เดือนที่ 3 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 40
เดือนที่ 4 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 50
4.1.3 ถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม
จากผลการถอดบทเรียน
จุดแข็งคือ นักเรียนให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆเป็นอย่างดี เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย
จุดอ่อนคือ นักเรียนบางคนยังไม่สามรถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ทั้งหมด เนื่องจากขาดการดูแลอย่างต่อเนื่องเมื่อกลับถึงบ้าน จึงต้องใช้เวลาในการดำเนินการที่ยาวนานกว่านี้
ข้อเสนอแนะ ควรดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในด้านสุขภาพ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ
2. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ
3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
24.98
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
145
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
27
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
118
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน (2) สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน (3) ติดตามประเมินผล (4) ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์ ) ให้กับนักเรียน (5) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2567-L8010-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุขศิริ ไตรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่ ”
ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุขศิริ ไตรสกุล
ธันวาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2567-L8010-2-08 เลขที่ข้อตกลง 12/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2567-L8010-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาเด็กอ้วนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พบว่า ในปีพ.ศ. 2559-2563 มีเด็กอ้วนเพิ่มขึ้นปีละ 4 ล้านคนสอดคล้องกับสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กไทยในฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 พบเด็กอ้วนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงเด็กสูงสมส่วน ยังต่ำกว่าค่าเป้าหมายและมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และเด็กเตี้ยสูงกว่าค่าเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นภัยคุกคามภาวะสุขภาพอนามัยของเด็กไทย ซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนสู่ความเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กในวัยเรียนเป็นอย่างมาก การบริโภคอาหารที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีวิตทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโรคอาหารประเภทอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรรูป เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภทนี้จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทันสมัย ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง เป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอ้วน ซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกฝ่ายควรใส่ใจและแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกันอย่าง จริงจัง จากการสํารวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในเด็กไทยพบว่าเด็กไทยทุก ๆ 5 คน ที่เป็นโรคอ้วน กลายเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหืดหอบ โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็งและโรคหัวใจ เป็นต้น โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและบริเวณชุมชนรอบข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนมาตลอด ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกัน ให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่าที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป โดยมีข้อมูลในปี 2566 มีนักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการคิดเป็นร้อยละ 25 จากนักเรียนจำนวน 144 คน โดยมีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 15.28 และมีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 9.7 จึงจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพราะยังมีนักเรียนที่อ้วน ผอมอยู่ เด็กกลุ่มนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจ และความมีวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ขาดการออกกำลังกายและมีสภาวะทางอารมณ์ที่ยังไม่เอื้อต่อพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ซึ่งหลัก 3อ มีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในการที่จะแก้ปัญหาเหล่านี้ให้ลดน้อยลงหรือหมดไปจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน และเพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านไสใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการ "ส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดี"ขึ้นมา เพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านไสใหญ่ลดลงและหมดไปในที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน
- สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน
- ติดตามประเมินผล
- ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์ ) ให้กับนักเรียน
- รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 27 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 118 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ
- เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ
- นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์ ) ให้กับนักเรียน |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ3.1 ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และครบ 5 หมู่ (ลดอาหารหวาน มัน เค็ม)
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการ แก่ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์
- ดูแล ควบคุมการรับประทานอาหารกลางวันนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์โดยเพิ่มและลดปริมาณอาหารตามกลุ่มที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ 3.2. สร้างแกนนำนักเรียน เพื่อเป็นแกนนำในการออกกำลังกาย และทำกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียนคนอื่นๆ 3.3 ส่งเสริมสภาวะที่ดีทางด้านอารมณ์ให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดกิจกรรมเสริมสร้างสมาธิที่ดีให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ เช่น นั่งสมาธิ ฟังนิทาน หรือฟังเพลง ดนตรีบรรเลง ในช่วงเวลาพักกลางวัน หรือก่อนกลับบ้านเป็นเวลา 15 นาทีทุกวัน โดยมีผลการสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมคิดเป็นร้อยละ 90
|
0 | 0 |
2. ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมครั้งที่ 1 ชี้แจงรายละเอียดโครงการ งบประมาณและกิจกรรม ปรึกษาหารือวางแผนการดำเนินงานโครงการ 2.ประชุมครั้งที่ 2 รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เพื่อหาแนวทางแก้ไข
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ ร้อยละ 100 เข้าร่วมประชุมและรับทราบการจัดกิจกรรมตามโครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดี โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ตามระเบียบวาระการประชุมที่กำหนด
|
0 | 0 |
3. สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ2.1. คัดเลือก อสม.น้อยในโรงเรียนจำนวน 10 คน โดยคณะกรรมการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. ติดตามประเมินผล |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทำการสำรวจค่า BMI ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกๆ 1 เดือน เป็นเวลา 4 เดือน สรุปข้อมูลจากสมุดบันทึกภาวะโภชนาการ โดยอสม.น้อย ถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
3.ถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม จากผลการถอดบทเรียน
|
0 | 0 |
5. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||
วันที่ 1 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรูปเล่มรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการฉบับสมบูรณ์ จำนวน 2 เล่ม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน
คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านไสใหญ่ ร้อยละ 100 เข้าร่วมประชุมและรับทราบการจัดกิจกรรมตามโครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดี โรงเรียนบ้านไสใหญ่ ตามระเบียบวาระการประชุมที่กำหนด
กิจกรรมที่ 2 สร้างแกนนำ อสม. น้อยในโรงเรียน
2.1 คัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 5 เพื่อเข้าร่วมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ อสม.น้อย ในโรงเรียน จำนวน 10 คน
2.2 การจัดอบรมหลักสูตร อสม.น้อยในโรงเรียน โดยการทดสอบความรู้ก่อนการอบรมและประเมินผลหลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรมนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท อสม.น้อยคิดเป็นร้อยละ 60 และหลังการอบรม นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท อสม.น้อยคิดเป็นร้อยละ 80
2.3 แกนนำ อสม.น้อย ร่วมกับคณะครูติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ โดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงและบันทึกผลเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง
2.4 แกนนำ อสม.น้อย รายงานผลการติดตามและแจ้งให้ครูและผู้ปกครองทราบ จากผลการรายงาน พบว่า นักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 50 และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงคิดเป็นร้อยละ 20
2.5 โรงเรียนขอความร่วมมือจากร้านค้า สหกรณ์ จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพให้กับนักเรียน จากผลการดำเนินงาน พบว่า สหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนบ้านไสใหญ่ จำหน่ายอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 100 และร้านค้า รถสามล้อ หน้าโรงเรียน จำหน่ายอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนเพิ่มมากขึ้น
กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยหลัก 5 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์) ให้กับนักเรียน
3.1 ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และครบ 5 หมู่ (ลดหวาน มัน เค็ม)
3.1.1 นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการที่เหมาะสมในเด็กวัยเรียน จากการทำแบบทดสอบก่อน - หลังอบรม เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 90
- ผู้ปกครอง นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ และมีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้ความเข้าใจในหลักโภชนาการที่เหมาะสมในเด็กวัยเรียนมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80
- อสม.น้อยในโรงเรียนร้อยละ 90 มีความรู้เกี่ยวกับการโภชนาการที่เหมาะสมในเด็กวัยเรียน มากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 80
3.1.2 นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 50 และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ลดลงคิดเป็นร้อยละ 20
3.2 สร้างแกนนำนักเรียน เพื่อเป็นแกนนำในการออกกำลังกาย และทำกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียนคนอื่นๆ
3.2.1 สร้างนักเรียนแกนนำ (อสม.น้อย) 5 กลุ่ม กลุ่มละ 2 คน และครูกลุ่มละ 2 คน เป็นผู้ควบคุมดูแลนักเรียนทุกคนให้ทำกิจกรรมการออกกำลังกาย โดยแยกออกเป็นกลุ่มกีฬา 5 กลุ่ม คือ 1) ฟุตบอล 2) วอลเล่ย์บอล 3) เปตอง 4) กิจกรรมเข้าจังหวะ 5) กีฬาพื้นบ้าน นักเรียนทุกคนมีการออกกำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 100 และเน้นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ มีการออกกำลังกายทุกวันหลังเวลาลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ คิดเป็นร้อยละ 100
3.3 ส่งเสริมภาวะที่ดีทางด้านอารมณ์ให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
3.3.1 จัดกิจกรรมเสริมสร้างสมาธิที่ดีให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ เช่น นั่งสมาธิ ฟังนิทาน หรือฟังเพลง ดนตรีบรรเลง ในช่วงเวลาพักกลางวัน หรือก่อนกลับบ้านเป็นเวลา 15 นาทีทุกวัน โดยมีผลการสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนที่เข้าร่วมคิดเป็นร้อยละ 90
กิจกรรมที่ 4 ติดตามประเมินผล จากการดำเนินกิจกรรม
4.1.1 จากการสำรวจค่า BMI ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทุกๆ 1 เดือน เป็นเวลา 4 เดือน
เดือนที่ 1 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 20
เดือนที่ 2 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 30
เดือนที่ 3 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 40
เดือนที่ 4 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 50
4.1.2 สรุปข้อมูลจากสมุดบันทึกภาวะโภชนาการ โดยครูและ อสม.น้อย
เดือนที่ 1 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 20
เดือนที่ 2 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 30
เดือนที่ 3 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 40
เดือนที่ 4 นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง เทียบกับอายุ อยู่ในเกณฑ์ปกติ คิดเป็นร้อยละ 50
4.1.3 ถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม
จากผลการถอดบทเรียน
จุดแข็งคือ นักเรียนให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆเป็นอย่างดี เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย
จุดอ่อนคือ นักเรียนบางคนยังไม่สามรถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ทั้งหมด เนื่องจากขาดการดูแลอย่างต่อเนื่องเมื่อกลับถึงบ้าน จึงต้องใช้เวลาในการดำเนินการที่ยาวนานกว่านี้
ข้อเสนอแนะ ควรดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในด้านสุขภาพ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 2. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
24.98 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 145 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 27 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 118 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน บุคลากรและคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน (2) สร้างแกนนำ อสม.น้อย ในโรงเรียน (3) ติดตามประเมินผล (4) ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วยหลัก 3 อ (อาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์ ) ให้กับนักเรียน (5) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการ และเสริมสร้างสุขภาพที่ดีโรงเรียนบ้านไสใหญ่ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 2567-L8010-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุขศิริ ไตรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......