กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อนำโดยยุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมใจ จางวาง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อนำโดยยุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7252-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 23 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อนำโดยยุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อนำโดยยุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อนำโดยยุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7252-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 23 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสแดงกี่ ซึ่งมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการไข้หลังจากถูกยุงลายที่มีเชื้อกัดประมาณ 5 – 8 วัน โดยโรคนี้เกิดขึ้นได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ แต่มักพบในเด็กช่วงอายุ 5 – 14 ปี และมักมีการระบาดในช่วงฤดูฝน เพราะมียุงเพิ่มมากขึ้น ยุงลายอาศัยอยู่ในอาคาร และบริเวณรอบๆอาคาร บ้านเรือน โดยเกาะพักอยู่ตามที่มืด อับชื้น และดูดกินเลือดคนเวลากลางวัน โรคติดต่อนำโดยยุง นอกจากโรคไข้เลือดออกแล้ว ยังมีโรคชิคุนกุนยาโรคมาลาเรีย และโรคเท้าช้าง เป็นต้น ซึ่งถือเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังเนื่องจากมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคดังกล่าวได้ ซึ่งจากสถานการณ์ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในระดับประเทศ ในปีพ.ศ.2566 ไม่มีผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออก จำนวน 213 ราย มากกว่าปี พ.ศ.2565 ถึง 3.8 เท่า จากข้อมูลการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกดังกล่าว พบว่าข้อมูลการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาในปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2563 – 2565) ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก แต่มีโอกาสพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาได้ในทุกชุมชน และจำนวนผู้ป่วยมีจำนวนลดลง ซึ่งข้อมูลสถิติจำนวนผู้ป่วยในปี พ.ศ. 2564 พบจำนวนผู้ป่วย 12 ราย ปี พ.ศ.2565 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา จำนวน 6 ราย และในปี พ.ศ 2566 มีจำนวนไข้เลือดออก 213 คน และฉี่หนู 2 คน ซึ่งหลังจากได้รับข้อมูลผู้ป่วยไข้เลือดออกทุกครั้ง เจ้าหน้าที่ควบคุมโรค ร่วมกับอสม.ในชุมชน ลงพื้นที่ไปยังบ้านผู้ป่วยเพื่อสอบสวนโรค ค้นหาสาเหตุการติดต่อของโรค และดำเนินการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายให้กับที่อยู่ของผู้ป่วย และบริเวณรอบๆบ้านผู้ป่วยในรัศมี 100 เมตร สำหรับกรณีผู้ป่วยที่เป็นนักเรียน ได้มีการให้บริการพ่นหมอกควันในโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสะเดาเช่นกัน หากนักเรียนซึ่งเป็นผู้ป่วย ไม่ได้เรียนในโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสะเดา เจ้าหน้าที่งานควบคุมโรคจะประสานงานกับครูอนามัยโรงเรียนเพื่อให้เจ้าของพื้นที่ดำเนินการควบคุมโรคต่อไป ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเดา จึงทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อนำโดยยุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานซึ่งดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยมีการจัดอบรมให้ความรู้ และเน้นให้ประชาชนในชุมชน รวมทั้ง ครูอนามัยในโรงเรียน และนักเรียน ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนที่ตั้งอยู่ภายในเขตเทศบาลเมืองสะเดา เห็นความสำคัญและชักนำให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อนำโดยยุง และป้องกันการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่
  2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อนำโดยยุง อย่างจริงจังและต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน 155
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ตัวแทนคณะกรรมการชุมชน ,ตัวแทน อสม. ทั้ง 27 ชุมชน ครูอนามัยโรงเรียน ตัวแทนนักเรียนรวมทั้งผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ มีแรงจูงใจที่จะได้รับความรู้จากการอบรมโดยมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประชาชนในชุมชนในเขตพื้นที่ทม.สะเดา มีความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก การป้องกันและควบคุมโรค และนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ประชาชนในเขตพื้นที่ทม.สะเดา มีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาด (Big Cleaning Day) และตระหนักถึงการป้องกันและควบคุมโรคฯ ควบคุมการแพร่ระบาดของโรค และป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็ว โดยความร่วมมือของแกนนำชุมชน และอสม. และประชาชนในพื้นที่ ควบคุมการแพร่ระบาด และป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อนำโดยยุงได้อย่างรวดเร็ว


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อนำโดยยุง และป้องกันการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยไข้เลือดออก/โรคติดต่อนำโดยยุง ลดลง

     

    2 เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อนำโดยยุง อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 185
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน 155
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อนำโดยยุง และป้องกันการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่ (2) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมโรคไข้เลือดออก/โรคติดต่อนำโดยยุง อย่างจริงจังและต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อนำโดยยุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L7252-01-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสมใจ จางวาง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด