โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home"
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" ”
ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะรอวี ดือราแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home"
ที่อยู่ ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L0000-02-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home"
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L0000-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลงมีผลทำให้ร่างกายอ่อนแอและปัจจุบันนี้ ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้กลับกลายมาเป็นปัญหาสาธารสุขที่สำคัญของประเทศ
จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรก ในกลุ่มโรคไม่คิดต่อ ได้แก่ โรคความดันโถหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง และไขมันอุดตันในเส้นเลือด และข้อมูลของ รพ.สตแป้น (31 ก.ค. 2567) พบผู้ป่วยเบาหวาน 19 ราย และผู้ป่วยความดันโลหิต 28 ราย ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงาน กลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกาย และบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ก็จะสามารถลดปัญหาตังกล่าวได้ เมื่อได้ออกกำลังกายร่างกายจะดึงพลังงานออกมาใช้ การออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายเป็นจังหวะต่อเนื่องกัน เช่น การเดิน วิ่ง ซึ่งช่วยเสริมสร้างความแข็งแรง โดยการฝึกให้ร่างกายมีประสิทธิภาพและใช้พลังงานน้อยลงแม้จะทำกิจกรรมเท่าเดิม เมื่อปรับสภาพร่างกายได้ดีขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจจะกลับสู่ระดับพักผ่อนได้เร็วกว่าเดิมมาก หลังจากออกกำลังกาย
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลแป้น (ศพค.) ให้ความสำคัญในด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีคุณภาพชีวิต ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนในตำบลได้ออกกำลังกายในทางที่เหมาะกับวัย ถือเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นด้านสุขภาพ และเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถ ปัจจัยสำคัญที่มีส่วนช่วยให้ทุกคนมีสุขภาพดีนั้น นอกเหนือการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การนอนหลับหรือการพักผ่อนที่เพียงพอแล้ว การออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอก็เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ร่างกายมีสุขภาพดี และความแข็งแรงอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีและเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนรักการออกกำลังกาย
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ การออกกำลังกายรูปแบบต่างๆอย่างถูกต้อง
3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home"
- ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์เชฺิญชวนออกกำลังกายด้วยการ เดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ เปิดรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- นัดกลุ่มเป้าหมายตรวจสุขภาพ วัดความดันวัดค่า MBI ลงทะเบียนประเภทกีฬา
- กิจกรรม มหกรรมออกกำลังกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายที่แข็งแรง สุขภาพดี
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการออกกำลังกายตามวัยอายุได้ถูกต้อง
- ประชาชนเห็นความสำคัญ สามารถลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่างๆได้
- เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่ไม่เคยออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีและเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนรักการออกกำลังกาย
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ การออกกำลังกายรูปแบบต่างๆอย่างถูกต้อง
3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีนิสัยในการออกกำลังกายเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายมากขึ้น
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถออกกำลังกายได้ถูกวิธี และรักการออกกำลังกาย
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีและเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนรักการออกกำลังกาย
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ การออกกำลังกายรูปแบบต่างๆอย่างถูกต้อง
3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" (2) ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์เชฺิญชวนออกกำลังกายด้วยการ เดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ เปิดรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม (3) นัดกลุ่มเป้าหมายตรวจสุขภาพ วัดความดันวัดค่า MBI ลงทะเบียนประเภทกีฬา (4) กิจกรรม มหกรรมออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L0000-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะรอวี ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" ”
ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะรอวี ดือราแม
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L0000-02-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home"
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป้น อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L0000-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ที่มีความทันสมัยสะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไป ประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลงมีผลทำให้ร่างกายอ่อนแอและปัจจุบันนี้ ปัญหาโรคไม่ติดต่อได้กลับกลายมาเป็นปัญหาสาธารสุขที่สำคัญของประเทศ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับแรก ในกลุ่มโรคไม่คิดต่อ ได้แก่ โรคความดันโถหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง และไขมันอุดตันในเส้นเลือด และข้อมูลของ รพ.สตแป้น (31 ก.ค. 2567) พบผู้ป่วยเบาหวาน 19 ราย และผู้ป่วยความดันโลหิต 28 ราย ผู้ป่วยที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงาน กลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกาย และบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะและมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ก็จะสามารถลดปัญหาตังกล่าวได้ เมื่อได้ออกกำลังกายร่างกายจะดึงพลังงานออกมาใช้ การออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายเป็นจังหวะต่อเนื่องกัน เช่น การเดิน วิ่ง ซึ่งช่วยเสริมสร้างความแข็งแรง โดยการฝึกให้ร่างกายมีประสิทธิภาพและใช้พลังงานน้อยลงแม้จะทำกิจกรรมเท่าเดิม เมื่อปรับสภาพร่างกายได้ดีขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจจะกลับสู่ระดับพักผ่อนได้เร็วกว่าเดิมมาก หลังจากออกกำลังกาย ดังนั้น ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลแป้น (ศพค.) ให้ความสำคัญในด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีคุณภาพชีวิต ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนในตำบลได้ออกกำลังกายในทางที่เหมาะกับวัย ถือเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นด้านสุขภาพ และเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถ ปัจจัยสำคัญที่มีส่วนช่วยให้ทุกคนมีสุขภาพดีนั้น นอกเหนือการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การนอนหลับหรือการพักผ่อนที่เพียงพอแล้ว การออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอก็เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ร่างกายมีสุขภาพดี และความแข็งแรงอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีและเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนรักการออกกำลังกาย 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ การออกกำลังกายรูปแบบต่างๆอย่างถูกต้อง 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home"
- ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์เชฺิญชวนออกกำลังกายด้วยการ เดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ เปิดรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- นัดกลุ่มเป้าหมายตรวจสุขภาพ วัดความดันวัดค่า MBI ลงทะเบียนประเภทกีฬา
- กิจกรรม มหกรรมออกกำลังกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีสมรรถภาพร่างกายที่แข็งแรง สุขภาพดี
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการออกกำลังกายตามวัยอายุได้ถูกต้อง
- ประชาชนเห็นความสำคัญ สามารถลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อต่างๆได้
- เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่ไม่เคยออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีและเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนรักการออกกำลังกาย
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ การออกกำลังกายรูปแบบต่างๆอย่างถูกต้อง
3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีนิสัยในการออกกำลังกายเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายมากขึ้น 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถออกกำลังกายได้ถูกวิธี และรักการออกกำลังกาย |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีและเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนรักการออกกำลังกาย 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ การออกกำลังกายรูปแบบต่างๆอย่างถูกต้อง 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" (2) ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาสัมพันธ์เชฺิญชวนออกกำลังกายด้วยการ เดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ เปิดรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม (3) นัดกลุ่มเป้าหมายตรวจสุขภาพ วัดความดันวัดค่า MBI ลงทะเบียนประเภทกีฬา (4) กิจกรรม มหกรรมออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ เดิน-วิ่ง เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ตามวิถีรักษ์แป้น บ้านเรา "Seve paen our home" จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L0000-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะรอวี ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......