กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการเด็กอายุ 0-3 ปี โภชนาการดีสู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฮานาน มะยีแต

ชื่อโครงการ โครงการเด็กอายุ 0-3 ปี โภชนาการดีสู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3017-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 23 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กอายุ 0-3 ปี โภชนาการดีสู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กอายุ 0-3 ปี โภชนาการดีสู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กอายุ 0-3 ปี โภชนาการดีสู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3017-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 23 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรสำคัญที่จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติในอนาคต การจะทำให้เด็กเติบโตอย่าง มีคุณภาพมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย มีความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ ปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องได้รับการเกื้อหนุน ส่งเสริม จากหลายๆ ปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยสภาพแวดล้อม ระบบบริการ ซึ่งเด็กวัย 0 - 5 ปี อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะด้านสมอง ซึ่งเติบโตถึงร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่ เป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการปูพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกเหนือจากการอยู่รอด ปลอดภัยโดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิตซึ่งเป็นระยะที่ร่างการและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดทั้งด้านร่างกายและสมอง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน รวมทั้งการกระตุ้นให้มีการพัฒนาได้เต็มศักยภาพ หากเด็กวัยนี้ได้รับการดูแลให้มีการพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์อย่างถูกต้อง โดยมีครอบครัวเป็นหลักเหมาะสมกับวัยแล้ว เด็กก็จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่น ๆ ต่อไป ครอบครัวเป็นสถาบันแห่งแรกของสังคมที่เป็นจุดเริ่มต้นของทุกสิ่งทุกอย่าง ความสุข ความรัก ความอบอุ่น จริยธรรม รวมทั้งสร้างเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางด้านต่าง ๆ ของเด็ก และพ่อแม่ คือ บุคคลสำคัญที่มีบทบาทดังกล่าว จากสถานการณ์ปัจจุบันสภาพของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงไป บิดามารดาต้องออกไปทำงานนอกบ้านหรือไปรับจ้างกรีดยางต่างจังหวัด ทำให้การเลี้ยงดูเด็กเล็กต้องตกไปเป็นหน้าที่ของตายายที่สูงวัย ที่มีรูปแบบการดูแลเด็กแบบวิถีเดิมที่ไม่ถูกต้องตามหลักโภชนาการเด็กและขาดการส่งเสริมพัฒนาการตามวัยที่ถูกต้อง และเนื่องจากการที่ขาดการส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้องและการบริโภคอาหารไม่ได้สัดส่วนตามความต้องการของเด็กในแต่ละช่วงอายุนั้น อาจทำให้เด็กได้รับสารอาหารที่ไม่เหมาะสมส่งผลให้การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กล่าช้าได้ ผลสำรวจสถานการณ์เด็กรายจังหวัด ซึ่งจัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติและสนับสนุนโดยยูนิเซฟ พบว่าเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลา มีภาวะเตี้ยแคระแกร็น (ความสูงต่ำกว่าเกณฑ์อายุ) สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ โดยในจังหวัดนราธิวาสมีเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่มีภาวะเตี้ยแคระแกร็นสูงถึงร้อยละ 29 เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของประเทศซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 12 ในขณะที่จังหวัดยะลา ปัตตานี สตูล และสงขลา อัตรานี้อยู่ที่ร้อยละ 21 ร้อยละ 19 ร้อยละ 17 และร้อยละ 13 ตามลำดับ และอัตราของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีที่มีภาวะผอมแห้งหรือภาวะทุพโภชนาการเฉียบพลันในจังหวัดชายแดนใต้ก็สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศเช่นกัน อัตรานี้สูงสุดในจังหวัดปัตตานีเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นๆ ในชายแดนใต้ คือร้อยละ 13 ตามด้วยจังหวัดนราธิวาสที่ร้อยละ 11 ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของประเทศอยู่ที่ร้อยละ 5 เรื่องโภชนาการ เป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนต้องให้ความตระหนัก ต้องให้ความสำคัญ โดยเฉพาะผู้ปกครองซึ่งเป็นผู้ดูแล ควรมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเพื่อที่สามารถทำอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กรับประทาน และสามารถส่งเสริมให้บุตรมีพัฒนาการตามวัยได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลปูยุด ในปี 2566 พบว่าเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปียังมีปัญหา ภาวะเตี้ย 40 ราย 15.38%, ค่อนข้างเตี้ย 32 ราย 12.31%, ภาวะผอม 2 ราย 0.6%, ค่อนข้างผอม 1 ราย 0.3% ดังนั้นสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลปูยุดเล็งเห็นถึงปัญหาของโรคจึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 0-3 ปี ได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้เด็ก 0-3 ปี ได้รับการกระตุ้นทางด้านโภชนาการและพัฒนาการ
  3. เพื่อให้เด็ก 0-3 ปี ได้รับการติดตามและประเมินภาวะโภชนาการซ้ำทุก 1 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ แก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อติดตามและประเมินภาวะโภชนาการซ้ำหลังจาก 1 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 0-3 ปี
ได้อย่างถูกเด็ก 0-3 ปี ได้รับการกระตุ้นทางด้านโภชนาการและพัฒนาการ เด็ก 0-3 ปี ได้รับการติดตามและประเมินภาวะโภชนาการซ้ำทุก 1 เดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 0-3 ปี ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองมีความรู้ในการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 0-3 ปี ได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

2 เพื่อให้เด็ก 0-3 ปี ได้รับการกระตุ้นทางด้านโภชนาการและพัฒนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็ก 0-3 ปี ได้รับการกระตุ้นทางด้านโภชนาการและพัฒนาการ
0.00

 

3 เพื่อให้เด็ก 0-3 ปี ได้รับการติดตามและประเมินภาวะโภชนาการซ้ำทุก 1 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็ก 0-3 ปี ได้รับการติดตามและประเมินภาวะโภชนาการซ้ำทุก 1 เดือน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 0-3 ปี ได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้เด็ก 0-3 ปี ได้รับการกระตุ้นทางด้านโภชนาการและพัฒนาการ (3) เพื่อให้เด็ก 0-3 ปี ได้รับการติดตามและประเมินภาวะโภชนาการซ้ำทุก 1 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อติดตามและประเมินภาวะโภชนาการซ้ำหลังจาก 1 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กอายุ 0-3 ปี โภชนาการดีสู่พัฒนาการสมวัย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3017-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮานาน มะยีแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด