กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการปูยุดใส่ใจ เพื่อคัดกรองวัณโรค ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฮานาน มะยีแต

ชื่อโครงการ โครงการปูยุดใส่ใจ เพื่อคัดกรองวัณโรค ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3017-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2567 ถึง 15 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปูยุดใส่ใจ เพื่อคัดกรองวัณโรค ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปูยุดใส่ใจ เพื่อคัดกรองวัณโรค ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปูยุดใส่ใจ เพื่อคัดกรองวัณโรค ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3017-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2567 - 15 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจที่ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของงานทางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย ซึ่งนับว่ายังมีความรุนแรงอยู่มากและทำให้เกิดปัญหาทางด้านสังคมและเศรษฐกิจตามมา วัณโรคยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ในปี2559 องค์การอนามัยโลก(WHO) กำหนดยุทธศาสตร์เพื่อยุติวัณโรค โดยมีเป้าหมายลดอุบัติการณ์วัณโรคให้ต่ำกว่า 10 ราย ต่อแสนประชากรโลกภายในปี 2578 ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศของโลกที่มีวัณโรคสูง รายงานจากองค์การอนามัยโลก ปี ค.ศ. 2020 พบว่าอุบัติการณ์วัณโรคของประเทศไทยคิดเป็นอัตรา 150 ต่อแสนประชากร อัตราการครอบคลุมการรักษาวัณโรค ร้อยละ 84 จากข้อมูลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด 3 ปี ย้อนหลัง ในปีงบประมาณ 2564 ถึงปี 2566 พบผู้ป่วยวัณโรคปอดขึ้นทะเบียนรักษา 47 ราย อุบัติการณ์ของโรคจะพบในเพศชายมากกว่าหญิง และจะพบมากขึ้นในคนสูงวัย เนื่องจากภาวะภูมิต้านทานในร่างกายลดน้อยลง จากการประเมินผลการดำเนินงานระหว่างปี 2564 - 2566 เนื่องจากข้อจำกัดทางทรัพยากรในหลายๆด้าน เช่น ระบบการบริการของบุคลากร การติดตามผู้ป่วย การส่งต่อผู้ป่วย และตัวผู้ป่วยเอง อีกทั้งลักษณะพื้นที่ที่มีความซับซ้อนทางสังคม และจากผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันวัณโรคประจำปีงบประมาณ 2566 พบว่าจำนวนผู้ป่วย ญาติและผู้สัมผัสโรคจำนวนมากขึ้น การประชาสัมพันธ์ การได้รับการอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจ ผู้ป่วยมีความตระหนักต่อโรคมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเป็นการควบคุมและป้องกันโรคไม่ให้เกิดการระบาดในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ เช่น กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ติดสุราเรื้อรัง ผู้ป่วยถุงลมโป่งพอง ผู้สูงอายุ ผู้เร่ร่อนไร้ที่อยู่ คนต่างด้าว ดังนั้นอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลปูยุดเล็งเห็นถึงปัญหาของโรควัณโรคจึงจัดกิจกรรมคัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงในกลุ่มต่างๆ และเพื่อเป็นการยับยั้งให้สามารถควบคุมวัณโรคประสบผลสำเร็จได้อย่างยั่งยืน จึงจะดำเนินการจัดทำโครงการปูยุดใส่ใจ เพื่อคัดกรองวัณโรค ในปีงบประมาณ 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค (TB disease) ในกลุ่มผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรค
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องวัณโรค เพื่อลดอัตราอุบัติการณ์ของโรค
  3. เพื่อเพิ่มความสำเร็จของการรักษาวัณโรคหายขาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมลงพื้นที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์คัดกรองในผู้ที่สัมผัสวัณโรคร่วมบ้าน
  2. (Pre-test) ความรู้เรื่องวัณโรค กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (Post-test) ความรู้เรื่องวัณโรค
  3. เฝ้าระวัง ติดตามผู้ที่มีผล x-ray ปอดที่ผิดปกติเข้าข่ายวัณโรคทุกๆ ๑ เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองวัณโรคมากกว่าร้อยละ 80

    1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ให้คำแนะนำและให้คำปรึกษาแก่ผู้อื่นได้

    2. อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคหายขาด (Success rate) ร้อยละ 90


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค (TB disease) ในกลุ่มผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองวัณโรค
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องวัณโรค เพื่อลดอัตราอุบัติการณ์ของโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มีความรู้เรื่องวัณโรคและอัตราอุบัติการณ์ของวัณโรคลดลง
0.00

 

3 เพื่อเพิ่มความสำเร็จของการรักษาวัณโรคหายขาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคหายขาด(Success rate)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยวัณโรค (TB disease) ในกลุ่มผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรค (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องวัณโรค เพื่อลดอัตราอุบัติการณ์ของโรค (3) เพื่อเพิ่มความสำเร็จของการรักษาวัณโรคหายขาด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมลงพื้นที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์คัดกรองในผู้ที่สัมผัสวัณโรคร่วมบ้าน (2) (Pre-test) ความรู้เรื่องวัณโรค กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ (Post-test) ความรู้เรื่องวัณโรค (3) เฝ้าระวัง ติดตามผู้ที่มีผล x-ray ปอดที่ผิดปกติเข้าข่ายวัณโรคทุกๆ ๑ เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปูยุดใส่ใจ เพื่อคัดกรองวัณโรค ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3017-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮานาน มะยีแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด