กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรค และชะลอความเสื่อมของไตในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาทอน ปี ๒๕๖๗

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑ เพื่อให้กลุ่มป่วย ผู้ดูแล ได้รับความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเพื่อชะลอภาวะไตเสื่อม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วย ผู้ดูแล ที่ผ่านการอบรมมีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อชะลอภาวะไตเสื่อม ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

2 ข้อที่ ๒ เพื่อให้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อภาวะไตเสื่อมได้รับการดูแลติดตาม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อภาวะไตเสื่อมได้รับการดูแลติดตาม ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

3 ข้อ ๓ เพื่อให้อสม.แกนนำมีความรู้และทักษะการดูแลกลุ่มป่วยที่เสี่ยงต่อภาวะไตเสื่อมในชุมชนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : อสม.แกนนำมีความรู้และทักษะการดูแลกลุ่มป่วยที่เสี่ยงต่อภาวะไตเสื่อม ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อให้กลุ่มป่วย ผู้ดูแล ได้รับความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเพื่อชะลอภาวะไตเสื่อม (2) ข้อที่ ๒ เพื่อให้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่เสี่ยงต่อภาวะไตเสื่อมได้รับการดูแลติดตาม (3) ข้อ ๓ เพื่อให้อสม.แกนนำมีความรู้และทักษะการดูแลกลุ่มป่วยที่เสี่ยงต่อภาวะไตเสื่อมในชุมชนได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ (2) ๒.ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.1, ม.2, ม.3, ม.6 และ ม.7 ต.นาทอน (3) 3.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม. (4) ๔. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไตและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อชะลอภาวะไตเสื่อม (5) ๕. จัดตั้งแกนนำอสม.ที่ผ่านการอบรมเพื่อติดตาม ดูแล ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง (6) ๖. ติดตามประเมินผลซ้ำโดยการตรวจ ระดับน้ำตาลในเลือด วัดความดันโลหิต  ภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วย (7) ๗.สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh