กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ประจำปี 2567
รหัสโครงการ 2567-L5221-03-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลท่าบอน
วันที่อนุมัติ 29 มกราคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 8 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 61,175.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวธนิกา ชูละเอียด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ภาวะประชากรผู้สูงอายุ
70.00
2 ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพ ภาวะซึมเศร้า
70.00
3 ปัจจุบันจำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว ส่งผลให้ประชากรไทยเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุหรือ “ภาวะประชากรผู้สูงอายุ” อันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น เช่น เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหัวใจฯ
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตปัญญา

ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม มีสุขภาพกายและใจที่ดี

80.00 1.00
2 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ป้องกันการเจ็บป่วย และ ดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมและมีความสุขตามช่วงวัย

ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง มีความสุขตามสมควรของวัย

70.00 1.00
3 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ฝึกทักษะด้านต่างๆ ทำกิจกรรมร่วมกัน สร้างเสริมภาวะ ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและการตระหนักในคุณค่าของตนเอง

ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทักษะชีวิตเพิ่มขึ้น มีสุขภาวะทางกาย ใจ ที่ดี เห็นคุณค่าของตนเอง

70.00 1.00
4 เพื่อให้ผู้เรียนที่เป็นวัยเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการเตรียมเข้าสู่ช่วงวัย ผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ

ร้อยละ 90 ของวัยเตรียมความพร้อม มีการเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุที่ถูกต้องและมีคุณภาพ

70.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 61,175.00 0 0.00
8 ก.พ. 67 - 11 ก.ย. 67 1. รู้จักวัยผู้สูงอายุและกระบวนการชราจำนวน3 ชั่วโมง 0 3,150.00 -
8 ก.พ. 67 - 11 ก.ย. 67 2. การดูแลสุขภาพที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ, อนามัยในช่องปาก, รู้ทันข้อเข่าเสื่อมและการป้องกันการหกล้ม จำนวน 6 ชั่วโมง 0 6,300.00 -
8 ก.พ. 67 - 11 ก.ย. 67 3. รู้จักภาวะสมองเสื่อมและการรู้เท่าทันโรค NCD จำนวน 3 ชั่วโมง 0 3,150.00 -
8 ก.พ. 67 - 11 ก.ย. 67 4. ทักษะการดูแลรักษาสุขภาพตามแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย ประโยชน์ของการนวด, การนวด แผนไทยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ (นวดให้ตนเอง,นวดให้ผู้อื่น), การพัฒนาทักษะการนวดด้วยตนเอง เพื่อสุขภาพกายและใจ,ประโยชน์ของสมุนไพรไทย, และการฝึกทำยาดมสม 0 10,800.00 -
8 ก.พ. 67 - 11 ก.ย. 67 5. นันทนาการในการส่งเสริมสุขภาพและการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การออกกำลังกายแบบมณีเวช, การเต้นบาสโลบ(เต้นประกอบเพลง), รำวงมาตรฐาน, รำประยุกต์, และการทำงานประดิษฐ์เพื่อพัฒนาสมอง จำนวน 18 ชั่วโมง 0 21,000.00 -
8 ก.พ. 67 - 11 ก.ย. 67 6. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพองค์รวมตามหลักอายุรเวท และการฝึกทำอาหารเพื่อสุขภาพ จำนวน 6 ชั่วโมง 0 7,500.00 -
8 ก.พ. 67 - 11 ก.ย. 67 7. การส่งเสริมความรู้ที่เป็นประโยชน์ การเตรียมความพร้อมเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพและการส่งเสริม สุขภาพจิตสำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 6 ชั่วโมง 0 9,275.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตปัญญา
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในเบื้องต้นลดปัญหาการเจ็บป่วย และดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมและมีความสุขตามช่วงวัย
  3. ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ได้ฝึกทักษะความรู้ด้านต่างๆทำกิจกรรมร่วมกันสร้างเสริม ภาวะทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และการเห็นคุณค่าของตนเอง
  4. ผู้เรียนที่เป็นวัยเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเตรียมเข้าสู่ช่วงวัยผู้สูงอายุ อย่างมีคุณภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2567 00:00 น.