กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน


“ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก บ้านสนกลาง ”

ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1. นายเจ๊ะแหละ หยังสู 2. นายราหวัน ทำสวน 3. นางสุมากร หยังสู 4. นางอารียา สูนสละ 5. นางบาหนิน ถิ่นกาแบง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก บ้านสนกลาง

ที่อยู่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2567-L5314-2-08 เลขที่ข้อตกลง 15/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก บ้านสนกลาง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก บ้านสนกลาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก บ้านสนกลาง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2567-L5314-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการดำเนินโครงการควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2566 พบว่าผลที่ได้จากการดำเนินโครงการทำให้อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกหมู่ที่ 4 บ้านสนกลาง ในปี 2566 ไม่พบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก กิจกรรมเดินรณรงค์ใส่ทรายที่มีฟอสเป็นประจำ และต่อเนื่องทุกเดือน ส่งผลให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (CI) และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานที่ราชการ เช่นโรงเรียน มัสยิด ลดลงไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ค่าดัชนีของลูกน้ำยุงลาย(HI) ในหมู่ที่ 4 บ้านสนกลาง มีแนวโน้มค่าลดลงอย่างต่อเนื่องทุกเดือน โดยเดือนที่พบค่าลูกน้ำยุงลายสูงสุดคือเดือน กรกฎาคม พบร้อยละ 9.42 เดือนที่พบลูกน้ำยุงลายน้อยที่สุดคือเดือน ตุลาคม พบร้อยละ 7.22 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ ค่า HI น้อยกว่า ร้อยละ 10 แต่ยังพบปัญหาอุปสรรคในการทำงาน เช่น กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออก ในชุมชนยังมีค่อนข้างน้อย โดยยังขาดความร่วมมือจากประชาชนในพื้นที่ กระบวนการเดินรณรงค์เพื่อสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายตามครัวเรือน ประชาชนยังมองว่าเป็นบทบาทหลักของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเท่านั้น และในหมู่บ้านยังขาดกติกาชุมชน หรือมาตรการทางสังคมที่คนในชุมชนหมู่บ้านคิดร่วมกัน ยอมรับและถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน


ดังนั้น ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านสนกลาง จึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงอยากต่อยอดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่แท้จริงในชุมชน หมู่บ้าน มีคณะกรรมการป้องกัน และควบคุมโรคในหมู่บ้าน เพื่อช่วยกันเฝ้าระวังโรคภัยในหมู่บ้านต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายไม่ให้เกินเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข
  2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคมหรือกติกาชุมชนในเรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงให้ความรู้พร้อมทั้งคืนข้อมูลสถานการณ์ ให้ชุมชนรับทราบ เพื่อกำหนดกิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน และแต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคระดับหมู่บ้าน พร้อมทั้งส่งเสริมหามาตรการทางสังคมในการป้องกันควบคุมโรค
  2. กิจกรรมรณรงค์ใส่ทรายทีมีฟอส และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกหมู่บ้าน ตามแผนการรณรงค์
  3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนทั่วไป 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายของ บ้านสนกลาง หมู่ที่ 4 ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ประชาชนในหมู่บ้านมีความตระหนักในการควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออก ส่งผลให้ เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในหมู่บ้าน จึงทำให้ลดภาวะเสี่ยงจากการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน อีกทั้งเกิดมาตรการทางสังคมหรือกติกาชุมชนเพื่อเป็นมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคในชุมชนต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายไม่ให้เกินเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน โรงเรียน มัสยิด ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนในหมู่บ้านไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคมหรือกติกาชุมชนในเรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : มีมาตรการทางสังคม หรือกติกาชุมชนอย่างน้อย ๑ เรื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนทั่วไป 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายไม่ให้เกินเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคมหรือกติกาชุมชนในเรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงให้ความรู้พร้อมทั้งคืนข้อมูลสถานการณ์  ให้ชุมชนรับทราบ เพื่อกำหนดกิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน และแต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคระดับหมู่บ้าน พร้อมทั้งส่งเสริมหามาตรการทางสังคมในการป้องกันควบคุมโรค (2) กิจกรรมรณรงค์ใส่ทรายทีมีฟอส และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกหมู่บ้าน ตามแผนการรณรงค์ (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก บ้านสนกลาง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2567-L5314-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1. นายเจ๊ะแหละ หยังสู 2. นายราหวัน ทำสวน 3. นางสุมากร หยังสู 4. นางอารียา สูนสละ 5. นางบาหนิน ถิ่นกาแบง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด