กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 3อ.2ส. หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปี 2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 3อ.2ส. หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปี 2567 ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสายฝน โสสนุย

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 3อ.2ส. หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปี 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5293-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 3อ.2ส. หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปี 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 3อ.2ส. หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 3อ.2ส. หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5293-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่ประชากรในชุมชนเป็นกันอยู่และเพิ่มปริมาณอัตราป่วยขึ้นเรื่อยๆ โดยเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตของแต่ละบุคคลทั้งในเรื่องของพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หวาน มันเค็ม ซึ่งในปัจจุบันอาหารจานด่วน และความเร่งด่วนในการใช้ชีวิตประจำวันจึงจำเป็นต้องบริโภคอาหารซึ่งมีส่วนผสมของเกลือ น้ำตาล และน้ำมันในปริมาณที่เกินกำหนดในปริมาณการบริโภคในแต่ละวันต่อคนโดยผู้บริโภคขาดความตระหนัก แต่กลับบริโภคและขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสม ขาดแรงจูงใจ ไม่มีกลุ่มในการออกกำลังกายในชุมชน อีกทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกาย
        ผลจากการสำรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อที่สามารถป้องกันได้ของอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตหมู่ที่๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปีงบประมาณ ๒๕๖7 ซึ่งเป็นพื้นที่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหว้า ในการดูแลภาวะสุขภาพประชาชนทุกกลุ่มวัย ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่๘ บ้านควนตำเสาได้ดำเนินการร่วมกันกับฝ่ายส่งเสริมสุขภาพโรงพยาบาลทุ่งหว้า และองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหว้าในการดูแลสุขภาพและคัดกรองความเสี่ยงโรคไม่ติดต่อมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในการคัดกรองความเสี่ยงโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 76 คน เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 94 คนและโรคอื่นๆ เช่นมีรอบเอวเกิน อ้วนลงพุง ร่วมทั้งพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงในเรื่องของการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร และอารมณ์ ประชากรกลุ่มเสี่ยง  กิจกรรม เพื่อลดอัตราความเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเบาหวานและความดันโลหิตสูง อีกทั้งในรายกลุ่มที่เป็นโรคจะได้ช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดและภาวะแทรกซ้อนอื่นๆได้ รวมทั้งช่วยลดการเกิดภาวะซึมเศร้าและสามารถจัดการกับความเครียดและอารมณ์ของตนเองได้ ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสาจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก๓อ.๒ส. หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปี ๒๕๖7 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเกิดการรับรู้และมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก ๓อ.๒ส.
  2. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้และมีความพึงพอใจในกิจกรรมสุขศึกษาที่ได้รับ
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการอบรมมีความรอบรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมมีทักษะในการออกกำลังกายและฝึกปฏิบัติจนสามารถไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้
  4. เพื่อสร้างกระแสในเรื่องการดูแลสุขภาพพัฒนาความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 54
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชากรกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการอบรมเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ๒. ประชากรกลุ่มเสี่ยงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยยึดหลัก ๓อ.๒ส. ๓. มีการดำเนินงานในชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง ๔. ประชากรกลุ่มกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีไม่มีภาวะ การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเกิดการรับรู้และมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก ๓อ.๒ส.
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เรื่องการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

     

    2 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้และมีความพึงพอใจในกิจกรรมสุขศึกษาที่ได้รับ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมโครงการมากกว่าร้อยละ ๘๐

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการอบรมมีความรอบรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมมีทักษะในการออกกำลังกายและฝึกปฏิบัติจนสามารถไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีความรอบรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและสามารถนำความรู้และทักษะกิจกรรมออกกำลังกายไปใช้ด้วยตนเองได้

     

    4 เพื่อสร้างกระแสในเรื่องการดูแลสุขภาพพัฒนาความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในชุมชนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 54
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 54
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเกิดการรับรู้และมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก ๓อ.๒ส. (2) เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้และมีความพึงพอใจในกิจกรรมสุขศึกษาที่ได้รับ (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการอบรมมีความรอบรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมมีทักษะในการออกกำลังกายและฝึกปฏิบัติจนสามารถไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้ (4) เพื่อสร้างกระแสในเรื่องการดูแลสุขภาพพัฒนาความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในชุมชนได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยหลัก 3อ.2ส. หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลปี 2567 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 67-L5293-02-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสายฝน โสสนุย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด