กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดโรค ลดพุง ต.ปะลุรู อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส ประจำปี 2567 ”
ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดโรค ลดพุง ต.ปะลุรู อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2540-1-0005 เลขที่ข้อตกลง 007/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดโรค ลดพุง ต.ปะลุรู อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดโรค ลดพุง ต.ปะลุรู อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดโรค ลดพุง ต.ปะลุรู อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2540-1-0005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงนับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่ โรคแทรกซ้อนอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรค คือ “กรรมพันธุ์” และ “สิ่งแวดล้อม”

สำหรับปัจจัยที่เป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงนั้น มีทั้งปัจจัย ที่ควบคุมไม่ได้ ได้แก่ ด้านกรรมพันธุ์ เช่น มี พ่อแม่ พี่น้องที่ป่วยเป็นโรค หรือการมีอายุที่เพิ่มมากขึ้น ส่วนปัจจัยที่ควบคุมได้ ได้แก่ การมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารที่มีรสหวานจัด มันจัด เค็มจัด การไม่ออกแรงหรือออกออกกำลังกาย การมีภาวะเครียดสะสมเรื้อรัง การสูบบุหรี่ ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

ดังนั้นกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม งานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ โรงพยาบาลสุไหงปาดี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุงได้รับการส่งเสริมความรู้และทักษะด้านสุขภาพ 3อ.2ส. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสมมากขึ้นและสามารถควบคุมระดับความรุนแรงของโรคเพี่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจขึ้นได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และโภชนาการอาหารที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้ถูกต้อง
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และควบคุมน้ำหนัก BMI ได้ ตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. .กิจกรรมให้ความรู้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน ให้ความตระหนักความรุนแรงของโรค
  2. 2 กิจกรรมที่ ฝึกทักษะการตรวจวัดรอบเอว ชั่งน้ำหนักคำนวณ BMI ,คำนวณแคลอรี่อาหารที่ต้องได้รับต่อวัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะเสี่ยงอ้วนลงพุงมีองค์ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน/และโรคความดันโลหิตสูง/อ้วนลงพุง และมีความรู้ด้านโภชนาการอาหารที่ส่งผลต่อพฤติกรรมสุขภาพในการดูแลตนเองเพิ่มมากขึ้น
    1. ผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะอ้วนลงพุงมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเฉพาะโรคที่ถูกต้องเหมาะสม
    2. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มี ทักษะตรวจวัด รอบเอว ชั่ง น้ำหนัก คำนวณ BMI , คำนวณแคลอรี่อาหารที่ ต้องการรายบุคคล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. .กิจกรรมให้ความรู้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน ให้ความตระหนักความรุนแรงของโรค

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน ให้ความตระหนักความรุนแรงของโรค
- ลงทะเบียน - พิธีเปิดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดโรค ลดพุง
- ทดสอบก่อนเรียน Pre Test - ให้ความรู้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ให้ความตระหนักความรุนแรงของโรค ภาวะแทรกซ้อน และผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจในครัวเรือนเมื่อเกิดโรค - พักเที่ยง/ละหมาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีองค์ความรู้และโภชนาการอาหารที่ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพมีความรอบรู้ในการดูแลตนเอง ร้อยละ 84 2.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดี ร้อยละ 86

 

0 0

2. 2 กิจกรรมที่ ฝึกทักษะการตรวจวัดรอบเอว ชั่งน้ำหนักคำนวณ BMI ,คำนวณแคลอรี่อาหารที่ต้องได้รับต่อวัน

วันที่ 1 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
  • การรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย
  • การคํานวณ bmi , วัดรอบเอว
  • การคํานวณแคลอรี่ที่ควรได้รับต่อวัน -ฝึกปฎิบัติการการคํานวณแคลอรี่ที่ควรได้รับต่อวัน,การคํานวณ bmi , วัดรอบเอว
  • ทดสอบหลังเรียน Post Test

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และควบคุมน้ำหนักBMI ได้ตามเกณฑ์ดีขึ้น ร้อยละ 80

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และโภชนาการอาหารที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีองค์ความรู้และโภชนาการอาหารที่ส่งผลต่อปัญหาสุขภาพมีความรอบรู้ในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
10.00 10.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีขึ้นร้อยละ 20
20.00 20.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และควบคุมน้ำหนัก BMI ได้ ตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 3.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และควบคุมน้ำหนักBMI ได้ตามเกณฑ์ดีขึ้นร้อยละ 20
20.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และโภชนาการอาหารที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้ถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และควบคุมน้ำหนัก BMI ได้ ตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. .กิจกรรมให้ความรู้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อน ให้ความตระหนักความรุนแรงของโรค (2) 2 กิจกรรมที่  ฝึกทักษะการตรวจวัดรอบเอว ชั่งน้ำหนักคำนวณ BMI ,คำนวณแคลอรี่อาหารที่ต้องได้รับต่อวัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลดโรค ลดพุง ต.ปะลุรู อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2540-1-0005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด