กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร


“ โครงการ Herb candy ลดความอยากบุหรี่ ”

ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัศมีดาว เเซ่ลิม

ชื่อโครงการ โครงการ Herb candy ลดความอยากบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67 - L8020 - 01 - 07 เลขที่ข้อตกลง 9/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Herb candy ลดความอยากบุหรี่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Herb candy ลดความอยากบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ Herb candy ลดความอยากบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67 - L8020 - 01 - 07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)

ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนแรง โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งการ สูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม อย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร ทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมากจากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ.2562 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ประเทศไทยมีผู้สบบุหรี่จำนวน12.4ล้านคนอัตราการสูบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปร้อยละ 20.7 ต่อประชากรพันคนอยู่ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุดร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 16.6และกลุ่มอายุ 15-24 ปีร้อยละ 14.7ตามลำดับเป็นผู้ชายร้อยละ 40.5และผู้หญิงร้อยละ 2.2โดยสูบบุหรี่จากโรงงานอย่างเดียวมากที่สุด 5.3 ล้านคน รองลงมาคือบุหรี่มวนเอง 4.2 ล้านคน และทั้งบุหรี่โรงงาน/บุหรี่มวนเอง 1.9 ล้านคนและมีคนไทยได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านร้อยละ 28.1 มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว2-3 แสนคนต่อปีคนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คนและเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ 12 ของการตายทั้งหมดผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 20 เท่า ที่สำคัญ 1 ใน 4 เป็นเด็กเล็กที่ตายเพราะได้รับควันบุหรี่มือสองหากการควบคุมการบริโภคยาสูบไม่เข้มแข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง8 ล้านคนใน20 ปีข้างหน้า ซึ่งทางกระทรวงสาธารณสุขได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่าภายในระยะเวลา 3 ปี จะดำเนินการเพื่อลดอัตราจำนวนประชากรผู้สูบบุหรี่ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จากปัจจุบันร้อยละ 20.7 ให้เหลือร้อยละ 16.7 และลดอัตราการรับควันบุหรี่มือสองให้เหลือร้อยละ 25

  ปัจจุบันการเลือกใช้ศาสตร์การแพทย์ทางเลือกเพื่อเป็นตัวช่วยในการเลิกบุหรี่ที่ได้รับความนิยมและมีการวิจัยอย่างแพร่หลาย ถึงประสิทธิภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ ได้แก่ สมุนไพรหญ้าดอกขาว (Cyanthillium cinereum (L.) H.Rob.) ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ ปี 2555 ในกลุ่มยาพัฒนาจากสมุนไพรที่ช่วยลดความอยากบุหรี่ ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.)มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า หากใช้สมุนไพรหญ้า ดอกขาวติดต่อกันนาน 2 เดือน สามารถช่วยทำให้เลิกสูบบุหรีได้ถึง 60% และหากใช้ร่วมกับการออกกำลังกาย จะสามารถช่วยเลิกสูบบุหรี่ได้มากขึ้น และหลังการรักษาด้วยสมุนไพรหญ้าดอกขาวเป็นระยะเวลา 4 เดือน ผู้ติด บุหรี่มีอัตราการเลิกสูบบุหรี่ได้ถึง 70% โดยเหตุผลสำคัญของการเลิกสูบบุหรี่ คือ ชาลิ้น กินอาหารไม่อร่อย ไม่รู้สึกอยากบุหรี่ รู้สึกเหม็นกลิ่นบุหรี่ เมื่อสูบแล้วรู้สึกอยากอาเจียน ข้อมูลฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของหญ้าดอกขาวที่มีส่วนช่วยลดความอยากบุหรี่ ได้แก่สารสำคัญที่ต้นใบ และรากของหญ้าดอกขาว คือ Sodium nitrate ทำให้ลิ้นชา ช่วยลดอาการอยากบุหรี่ได้ ยังช่วยทำให้สมรรถภาพทางกายดีขึ้นอีกด้วยเลือดจะมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระเพิ่มขึ้น ทำให้มีปริมาณของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่คั่งค้างในปอดลดลงอย่างชัดเจน และที่สำคัญผลข้างเคียงของการเลิกบุหรี่ด้วยวิธีนี้มีน้อยมาก (เช่น มีอาการกระวนกระวาย หงุดหงิดง่าย สมาธิแปรปรวน) และการศึกษาด้านความปลอดภัยของผู้ที่รับประทานหญ้าดอกขาวในรูปแบบยาลดความอยากบุหรีพบว่าสมุนไพรชนิดนี้มีความปลอดภัย แต่ควรปฏิบัติตามคำแนะนำจากแพทย์อย่างเคร่งครัด โดยยาชนิดนี้อาจส่งผลข้างเคียงทำให้ปากแห้งและคอแห้งได้ นอกจากนั้น สมุนไพรชนิดนี้ยังมีโพแทสเซียมเป็นส่วนประกอบในปริมาณสูง ผู้ป่วยโรคหัวใจหรือไตวายควรปรึกษาแพทย์ก่อนตัดสินใจรับประทานงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลรัตภูมิ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการHerb candy ลดความอยากบุหรี่เพื่อเป็นทางเลือกในการลดความอยากบุหรี่ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพให้ชุมชนสามารถควบคุมการบริโภคบุหรี่ได้ โดยการ การอบรมความรู้ที่จำเป็น ละการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืชในท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ผู้นำชุมชน ที่จะช่วยเป็นทีมทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้สามารถดำเนินงานเข้าถึงประชาชนในพื้นที่ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริม กระตุ้น ให้กลุ่มเป้าหมายทราบถึงพิษภัยที่เกิดจากบุหรี่
  2. เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ให้กับผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ในรูปแบบที่ง่ายขึ้น เเละสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อศึกษาผลของการใช้ Herb candy

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมความรู้ให้ความรู้เรื่องพิษภัยที่เกิดจากบุหรี่ ,เรื่องศาสตร์การแพทย์ทางเลือกโดยการเลือกใช้สมุนไพรเพื่อเป็นตัว ช่วยในการเลิกบุหรี่ ,ให้ความรู้เรื่องการเลือกสมุนไพร การสกัดสมุนไพร และวิธีการแปรรูปสมุนไพรในลูกแบบลูกอม (โดยเจ้าหน้าที่งานแพทย์แผนไทยและงา
  2. ปฏิบัติการทำลูกอมช่วยลดความอยากบุหรี่
  3. นัดกลุ่มเป้าหมาย ติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่สูบบุหรี่/ประชาชนในพื้นที่ที่มีบุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่ มีความรู้และสามารถปฏิบัติตนดูแลสุขภาพได้

  2. การใช้จำนวนบุหรีลดลงในประชาชนที่สูบบุหรี่/ประชาชนในพื้นที่ที่มีบุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่

  3. ประชาชนที่สูบบุหรี่/ประชาชนในพื้นที่ที่มีบุคคลในครอบครัวสูบบุหรี่ ได้รับความรู้ด้านแพทย์แผนไทยและสามารถนำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริม กระตุ้น ให้กลุ่มเป้าหมายทราบถึงพิษภัยที่เกิดจากบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยที่เกิดจากบุหรี่

 

2 เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ให้กับผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ในรูปแบบที่ง่ายขึ้น เเละสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการผลิตภัณฑ์ Herb candy

 

3 เพื่อศึกษาผลของการใช้ Herb candy
ตัวชี้วัด : จำนวนการใช้บุหรี่ลดลงร้อยละ 20 จากเดิมก่อนการได้รับ Herb candy

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริม กระตุ้น ให้กลุ่มเป้าหมายทราบถึงพิษภัยที่เกิดจากบุหรี่ (2) เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ให้กับผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ในรูปแบบที่ง่ายขึ้น เเละสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อศึกษาผลของการใช้ Herb candy

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมความรู้ให้ความรู้เรื่องพิษภัยที่เกิดจากบุหรี่ ,เรื่องศาสตร์การแพทย์ทางเลือกโดยการเลือกใช้สมุนไพรเพื่อเป็นตัว ช่วยในการเลิกบุหรี่ ,ให้ความรู้เรื่องการเลือกสมุนไพร การสกัดสมุนไพร และวิธีการแปรรูปสมุนไพรในลูกแบบลูกอม (โดยเจ้าหน้าที่งานแพทย์แผนไทยและงา (2) ปฏิบัติการทำลูกอมช่วยลดความอยากบุหรี่ (3) นัดกลุ่มเป้าหมาย ติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ Herb candy ลดความอยากบุหรี่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67 - L8020 - 01 - 07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรัศมีดาว เเซ่ลิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด