กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา


“ โครงการป้องกันภาวะชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2 เขตเทศบาลตำบลท่าเสา ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2 เขตเทศบาลตำบลท่าเสา ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภาวะชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2 เขตเทศบาลตำบลท่าเสา ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2 เขตเทศบาลตำบลท่าเสา ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันภาวะชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2 เขตเทศบาลตำบลท่าเสา ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งกายและใจสามารถดูแลตนเองได้ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทุนสังคมและภูมิปัญญาชุมชนตลอดจน การมีส่วนร่วมของชุมชน จากสถานการณ์โรคไตของจังหวัดพิจิตร พบว่าปี 2564-2565 พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 1,633 คน และ 1,847 คนตามลำดับ โดยผู้ป่วยไต 1 คน จะมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยอยู่ที่ 30,000 บาท/คน/เดือน เพราะต้องได้รับการฟอกไตด้วยวิธีฟอกเลือด หรือล้างไตผ่านหน้าท้อง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง ทำให้แต่ละปีต้องใช้งบประมาณถึง 20,000 ล้านบาท นอกจากนี้เมื่อป่วยยังทำให้คุณภาพชีวิตต่ำลง เสี่ยงการติดเชื้อแทรกซ้อนและไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ กระทรวงสาธารณสุขได้ร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดทำแนวทางการพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสาขาโรคไต เพื่อลดกลุ่มเสี่ยง ชะลอ การเสื่อมของไตในผู้ป่วยไตเรื้อรังทุกระยะ เพิ่มการเข้าถึงบริการโรคไตที่มีคุณภาพเสมอภาคทุกเครือข่าย จากข้อมูลการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 154 คน พบว่า อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม อยู่ในระยะที่ 2 (ค่า eGFR 60 – 89%) จำนวน 87 คนคิดเป็นร้อยละ 56.49 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564ร้อยละ 0.17ซึ่งในอนาคตประชาชนเขตเทศบาลตำบลท่าเสาอาจมีการเสื่อมของไตเพิ่มมากขึ้น และยังมีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนจนมีภาวะไตวายขึ้นได้ กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้หากยังไม่ได้รับ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูภาวะไตเสื่อมอย่างถูกต้อง ก็อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตของผู้ป่วยได้ในอนาคตอีกทั้งยังเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยทั้งในชุมชน และระดับหน่วยบริการด้านสาธารณสุข จากสภาพปัญหาดังกล่าวทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเสาได้เล็งเห็นความสำคัญของการชะลอไตเสื่อมของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง(CKD) ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งด้านการรับประทานอาหารการรับประทานยา และการออกกำลังกาย ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเสาจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อชะลอการเสื่อมของไตและให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองการทำงานของไต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองการทำงานของไตในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชะลอความเสื่อมของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม ระดับ 2 ได้มีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นดำเนินการ
  2. ขั้นดำเนินการ
  3. ขั้นดำเนินการ
  4. ขั้นดำเนินการ
  5. หนังสือเชิญกลุ่มเสี่ยง
  6. กิจกรรมเจาะเลือด
  7. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  8. การประเมินผล
  9. สรุปผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 152
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการตรวจคัดกรองการทำงานของไตและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง(ระยะที่ 2) ที่ผ่านการอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3.กลุ่มที่มีภาวะไตเสื่อมมีความรู้และปฏิบัติตัวในการส่งเสริมป้องกันและชะลอความเสื่อมของไตไม่ให้ ไตเสื่อมเพิ่มขึ้นจากเดิมหรือไตสามารถทำงานได้ดีขึ้นกว่าเดิม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจคัดกรองการทำงานของไตในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
100.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชะลอความเสื่อมของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2
ตัวชี้วัด :
90.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม ระดับ 2 ได้มีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด :
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 152
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 152
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองการทำงานของไตในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชะลอความเสื่อมของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2 (3) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม ระดับ 2 ได้มีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นดำเนินการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) ขั้นดำเนินการ (4) ขั้นดำเนินการ (5) หนังสือเชิญกลุ่มเสี่ยง (6) กิจกรรมเจาะเลือด (7) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (8) การประเมินผล (9) สรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันภาวะชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 2 เขตเทศบาลตำบลท่าเสา ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด