กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศรีสาคร


“ โครงการส่งเสริม การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กและผู้ใหญ่เชิงรุกในชุมชน ”

ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายประมวล ทองอินทราช

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กและผู้ใหญ่เชิงรุกในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2529-1-4 เลขที่ข้อตกลง 05/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริม การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กและผู้ใหญ่เชิงรุกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศรีสาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กและผู้ใหญ่เชิงรุกในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริม การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กและผู้ใหญ่เชิงรุกในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2529-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศรีสาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคธรรมดากลายเป็นโรครุนแรงที่ทำให้ต้องเสียค่ารักษาพยาบาลไม่น้อย หรือบางโรคก็อาจทำให้เสียชีวิตได้ การป้องกันโรคและความรุนแรงของโรคสามารถทำได้ด้วยการฉีดวัคซีนอย่างครบถ้วน ซึ่งควรฉีดทั้งวัคซีนเด็กและวัคซีนผู้ใหญ่เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคนในครอบครัว โรคธรรมดาอย่างโรคหวัด ไข้หวัดกลับมีความรุนแรงมากขึ้นที่ทำให้ผู้ได้รับเชื้อมีอาการป่วยรุนแรง รักษานานขึ้น ดื้อยา หรือในบางรายที่มีอาการรุนแรงมากก็อาจทำให้เสียชีวิตได้ นอกเหนือจากโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่แล้ว ยังมีเชื้อโรคอื่นๆ ที่รุนแรงไม่แพ้กันและเป็นโรคที่ไม่จำกัดอายุ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นกับทั้งเด็กและผู้ใหญ่ตลอดเวลาหากได้รับเชื้อโรคหรือความเสี่ยงในการรับเชื้อโรค     กระทรวงสาธารณสุข ได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคที่สำคัญในผู้ใหญ่มากขึ้น จึงกำหนดให้นำวัคซีนชนิดต่าง ๆ มาใช้เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ผู้ใหญ่ ตัวอย่างเช่น ให้เริ่มใช้วัคซีนคอตีบ บาดทะยัก ทดแทนวัคซีนบาดทะยัก  เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคคอตีบ ให้นำวัคซีนไข้หวัดใหญ่มาให้บริการในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงจะเกิดอาการรุนแรงหากป่วยเป็นโรคไข้หวัดใหญ่ รวมถึงแนะนำให้นำวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี (HB) วัคซีนป้องกันโรคหัด-หัดเยอรมัน (MR) และวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส (VZV) มาให้บริการแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อป้องกันการติดเชื้อในสถานพยาบาล อย่างไรก็ดี ถึงแม้จะมีการกำหนดนโยบายการให้วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่มาอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบว่าอัตราการให้วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ยังอยู่ในระดับต่ำอันเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เช่นประชาชนกลุ่มผู้ใหญ่ขาดความ ตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีน รวมถึงยังไม่มีรูปแบบบริการวัคซีนแก่ผู้ใหญ่ที่เป็นระบบ เป็นต้น     การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะเด็กวัยก่อนเรียน ซึ่งเป็นประชากรที่มีความสำคัญและเป็นอนาคตของชาติ ทั้งนี้เพราะเด็กในวัยนี้เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสติปัญญา ประกอบกับนโยบายของงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค  โดยยึดถือการได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการครอบคลุมระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด ในการนี้จึงต้องเร่งรีบให้วัคซีนตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้เพื่อความปลอดภัยจากโรคระบาดที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ทางกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพสามารถติดตามกลุ่มเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบ และกลุ่มที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีความรู้ ความ เข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนและเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในพื้นที่ ได้รับวัคซีนครอบคลุมตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมทีมงาน และเครือข่ายสุขภาพ เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน 3. ให้บริการฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชนผู้ นำศาสนา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความครอบคลุมของวัคซีนเด็ก 0-5 ปี และวัคซีนผู้ใหญ่
  2. ผู้ปกครอง มีความรู้ที่ถูกต้องและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามนัด มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  3. เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพสามารถติดตามกลุ่มเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบ และกลุ่มที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพสามารถติดตามกลุ่มเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบ และกลุ่มที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีความรู้ ความ เข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีความรู้ ความ เข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนร้อยละ 90

 

3 3. เพื่อให้ประชาชนและเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในพื้นที่ ได้รับวัคซีนครอบคลุมตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 3. เพื่อให้ประชาชนและเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในพื้นที่ ได้รับวัคซีนครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพสามารถติดตามกลุ่มเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบ และกลุ่มที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีความรู้ ความ เข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. เพื่อให้ประชาชนและเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในพื้นที่ ได้รับวัคซีนครอบคลุมตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมทีมงาน และเครือข่ายสุขภาพ เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการสร้างภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน 3. ให้บริการฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริม การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กและผู้ใหญ่เชิงรุกในชุมชน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2529-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประมวล ทองอินทราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด