กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา


“ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตโรคลดแทรกซ้อนความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2567 ”

ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
กรรณิการ์ เหละดุหวี

ชื่อโครงการ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตโรคลดแทรกซ้อนความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตโรคลดแทรกซ้อนความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตโรคลดแทรกซ้อนความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตโรคลดแทรกซ้อนความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ปัจจุบันประชาชนป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะเรื่อง อาหารการกิน การออกกำลังกายและการจัดการความเครียด ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมได้ ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่มีอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือไม่ก็เกิดความพิการทางด้านร่างกาย เช่นอัมพฤกษ์-อัมพาต บั่นทอนคุณภาพชีวิตทั้งผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน คลินิก NCDของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอมีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 390 ราย สามารถ ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 66.58 ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 33.42 เกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ 13.50 ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมองจำนวน 3ราย คิดเป็นร้อยละ 0.76 โรคหลอดเลือดหัวใจ 1 รายคิดเป็นร้อยละ 0.25 และมีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 147 ราย สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดร้อยละ 31.52 ไม่สามารถคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 68.48จากผลการตรวจตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปปี 2566พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน(ค่าระดับน้ำตาล100-125 mg/dl)ร้อยละ17.19กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานร้อยละ 2.67ผู้ป่วยรายใหม่13 รายมีกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง (ค่าความดันโลหิต ตัวบน 130-139 ตัวล่าง 85-89 mm.Hg ร้อยละ 13.90 กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงร้อยละ 7.78ผู้ป่วยรายใหม่32ราย จากข้อมูลจำนวนรายใหม่ของความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีเพิ่มขึ้นทุกๆปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา ดังกล่าว และตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มผู้เสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจึงได้จัดทำโครงการ “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตโรคลดแทรกซ้อนความดันโลหิตสูงและเบาหวาน”ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการ เกิดผู้ป่วยรายใหม่ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต โดยนำหลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค 3อ 3ส 1น.ตามวิถีชุมชน เปิดโอกาสแลกเปลี่ยนวิถีด้านสุขภาวะและพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวและพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ส่งผลต่อการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
  4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
  5. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยัน
  6. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 5.ติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน มาเพื่อเจาะเลือดส่งตรวจโรงพยาบาลยืนยันผล หากเกินเกณฑ์ส่งพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัย
  2. 3.ติดตามกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงเพื่อตรวจยืนยัน
  3. 1.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมายโดยแบ่งการอบรมเป็น 2 รุ่น รุ่นละ 100 คนจัดอบรมเป็น 4 ฐานการเรียนรู้1.
  4. 2.ติดตาม กลุ่มเป้าหมายหลังจากแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมทักษะชีวิต ในเรื่อง 3ส 3อ.1น ไป 1 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้และนำไปปฏิบัติ ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
2 .กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขภาพ และจัดการสุขภาพของตนเอง 3. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นผู้ป่วยรายใหม่ลดลดลงจากปีก่อน 4. กลุ่มป่วยมีการควบคุมระดับความดันและน้ำตาลดีขึ้นจากปีก่อนและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3ส 3อ.1น
17.19 80.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3ส 3อ.1น
13.90 80.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 40 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
68.48 40.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
33.42 60.00

 

5 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยัน
2.67 90.00

 

6 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90 กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยัน
7.72 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (4) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (5) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยัน (6) เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 5.ติดตามกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวาน มาเพื่อเจาะเลือดส่งตรวจโรงพยาบาลยืนยันผล หากเกินเกณฑ์ส่งพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัย (2) 3.ติดตามกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงเพื่อตรวจยืนยัน (3) 1.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมายโดยแบ่งการอบรมเป็น 2 รุ่น รุ่นละ 100 คนจัดอบรมเป็น 4 ฐานการเรียนรู้1. (4) 2.ติดตาม กลุ่มเป้าหมายหลังจากแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมทักษะชีวิต ในเรื่อง 3ส 3อ.1น ไป 1 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมพิชิตโรคลดแทรกซ้อนความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กรรณิการ์ เหละดุหวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด